คู่มือผู้ใช้ SMF


F.A.Q. คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับ กล่องกรองไฟ P Electronic Oil ทุกรุ่น

[img width=1000 height=563]https://scontent.fbkk12-1.fna.fbcdn.net/t31.0-8/13490772_1785160331718588_4475167326122684141_o.jpg[/img]

Q : ติดตั้งยังไง ติดตั้งยากไหม ต้องตัดต่อสายไฟไหม ต้องจูนไหม
A : ติดตั้งไม่ยาก สามารถติดตั้งเองได้ ต่อเข้ากับแบตเตอรี่ สายสีแดงต่อเข้าขั้วบวก สายสีดำต่อเข้าขั้วลบของแบตเตอรี่ ไม่มีการตัดต่อสายไฟ ไม่มีการจูนใดๆ ทั้งสิ้น

Q : กล่องช่วยในเรื่องอะไร
A : กล่องช่วยในเรื่องของระบบไฟฟ้าภายในรถยนต์ การกรองความถี่ที่ปะปนอยู่ในกระแสไฟฟ้า ที่เกิดจากการทำงานของไดชาร์ต ช่วยให้กระแสไฟที่จ่ายไปยังระบบอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความเร็วและเรียบยิ่งขึ้น ลดความร้อนที่เกิดจากกระแสกระชากและไฟไม่เรียบ ให้อุปกรณ์ร้อนน้อยลง ยืดเวลาการเสื่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ และทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

Q : มีกล่องไฟยี่ห่ออื่น, กล่องดันราง, กล่องควบคุมแก๊ส(LPG) / ก๊าซ (CNG/NGV) อยู่แล้ว สามารถติดตั้งกล่องนีี้ได้หรือไม่
A : สามารถติดตั้งร่วมกันกับกล่องได้ทุกชนิด โดยไม่มีผลเสียใดๆ ทั้งสิ้น ช่วยเสริมให้กล่องพวกนั้นทำงานได้ดีขึ้น เพิ่มความสามารถให้กับกล่องอื่นๆ เช่นกล่องดันรางช่วยให้เพิ่มแรงม้า รอบมาไว ประหยัดน้ำมัน ช่วยยืดอายุกล่องอื่นๆ ได้เช่นเดียวกับยืดอายุแบตเตอรี่

Q : กล่องมีอายุการใช้งานได้กี่ปี
A : อายุการใช้งาน 5 ปีขึ้น เนื่องจากตัวเก็บประจุเป็นแบบ คาร์บอน สามารถอยู่ในอุณหภูมิสูงสุดที่ 105 องศาเซลเซียส โดยที่ไม่แห้งและเสือมสภาพ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่รถที่ติดตั้ง รถบางรุ่นแบตเตอรี่จะอยู่ในห้องโดยสารหรือที่เก็บของท้ายรถ ในส่วนนี้จะให้กล่องมีอายุที่ยาวนานขึ้นไปอีก

Q : สามารถนำกล่องที่ใช้งานแล้วไปติดตั้ง ยังรถอื่นๆ ได้อีกหรือไม่
A : สามารถถอดกล่องออกและติดตั้งใหม่ได้ไม่จำกัด โดยไม่มีผลต่อการทำงานของกล่องและไม่ทำให้กล่องเสียหาย

Q : ไฟ LED ที่ตัวกล่องหลังจากติดไปแล้ว ติดตลอดหรือไม่
A : ไฟแสดงสถานะ LED นั้น จะติดตลอดเวลา เพื่อแสดงว่ากล่องกำลังทำงาน โดยไม่ต้องกังกลว่า แบตเตอรี่ในรถยนต์ของคุณจะหมด เนื่องจากกล่องจะมีไฟเลี้ยงตัวเอง สังเกตได้เวลาถอดออกไฟจะยังติดอยู่เป็นชั่วโมงไฟ LED กินไฟน้อยมากๆ น้อยกว่าหลอดไฟ เวลาเปิดประตูรถ หรือ ไฟส่องสว่างในรถยนต์ ของคุณใช้เสียอีก จึงไม่ต้องกังวล

Q : สามารถติดตั้งหลายๆ กล่องพร้อมๆ กันได้หรือไม่
A : คุณสามารถติดตั้งหลายๆ กล่องพร้อมกันได้ ยิ่งติดมาก ค่ายิ่งเยอะ ยิ่งดี จะช่วยให้รองรับการโหลดของกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น นั่นหมายถึงไฟจะนิ่งและคงที่มาก

Q : ค่า ฟารัด เยอะ ช่วยในเรื่องอะไร
A : ลองนึงถึงเครื่องปั้มน้ำ เมื่อใช้เครื่องปั้มน้ำกำลังน้อย ก็จะปัมได้อยู่ประมาณชั้นสองชั้นสาม พอชั้นสีน้ำเบา เมื่อใช้เครื่องปั้มน้ำที่มีกำลังมาก ก็จะปั้มได้ถึงชั้นเก้าชั้นสิบ โดยที่กำลังน้ำไม่ดรอปลงไปเลย ก็เหมือนกับกำลังไฟฟ้าที่จ่ายไปยังระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ

Q : สามารถเอากล่องที่กำลังเยอะๆ ไปใส่ในรถเล็กๆ ได้ไหม
A : สารมารถใส่ได้ ยิ่งกำลังเยอะ ไฟก็จะไม่มีดรอป ลดการกระชากของไฟฟ้าได้มาก และรองรับการติดตั้งอุปกรณ์เสริมที่ใช้ไฟฟ้าได้ดีอีกด้วย

Q : ติดกล่องไปแล้วจะหมดประกันศูนย์หรือไม่
A : ไม่หมดประกันศูนย์ เพราะไม่มีการตัดต่อ ดัดแปลง หรือการแก้ไขระบบใดๆ ทั้งสิ้น กล่องเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ จึงทำให้ไม่หมดประกัน

Q : ทำไมกล่องแต่ละรุ่นถึงมีเงื่อนไขในการติดตั้งไม่เหมือนกัน
A : กล่องแต่รุ่นได้ที่การทดสอบก่อนออกจำหน่ายจริง และทดลองกับรถยนต์หลายประเภท และการใช้กำลังไฟของเครื่องยนต์แต่ละขนาด แต่ละจำนวนกระบอกสูบ ใช้กำลังไฟไม่เท่ากัน และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ จึงทำให้กล่องแต่รุ่นมีความแต่ต่างและเหมาะสมกับการใช้งานจริง

Q : ‪กล่องกรองไฟ‬ ‪‎P Electronic‬ จึงมีราคาที่สูง
A : เนื่องด้วยวัสดุที่นำมาประกอบแต่ละชิ้น ต้องนำเข้าจากหลายๆ ประเทศ จึงทำให้มีต้นทุนที่สูงกว่า และคุณภาพที่ดีกว่า

Q : กล่องสามารถติดตั้งรถรุ่นไหนได้บ้าง ติดตั้งกับเชื้อเพลิงแบบไหนได้บ้าง
A : สามารถติดตั้งได้กับรถทุกประเภท รถเก่ารถใหม่ป้ายแดงก็ติดได้ ติดตั้งกับเชื้อเพลิงทุกชนิด ขอให้รถมีแบตเตอรี่กับไดชาร์ตก็พอ

Q : ดับเครื่องแล้ว ไฟที่กล่องยังทำงาน จะส่งผลให้แบตเตอรี่หมดเร็วหรือไม่
A : กล่องจะมีวงจรและตัวเก็บประจุอีกชุดไว้สำหรับ เลี้ยงไฟแสดงสถานะ จึงไม่มีการดึงไฟจากแบตเตอรี่ใดๆ ทั้งสิ้น กล่องจะทำงานก็ต่อเมื่อทำการสตาร์ทและไดชาร์ตทำงานแล้วเท่านั้น

Q : กล่องสามารถโดนน้ำได้หรือไม่ เผื่อเวลาทำความสะอาดห้องเครื่อง
A : กล่องสามารถโดนน้ำได้ ภายในกล่องได้มีการเทเรซิ่นเพื่อป้องกันน้ำโดนแผงวงจรและอุปกรณ์ เพราะเรารู้ว่ากล่องส่วนมากต้องติดตั้งอยู่ภายในห้องเครื่อง ต้องมีการโดนน้ำโดนฝุ่นเป็นเรื่องปกติ

Q : กล่องสามารถทนความร้อนได้ขนาดไหน
A : กล่องสามารถอยู่ในอุณหภูมิสูงสุดที่ 105 องศาเซลเซียส และกล่องอลูมิเนียมสามารถระบายความร้อนได้เร็ว โดนปกติทั่วไปอุณหภูมิภายในห้องเครื่องจะไม่เกิน 95 องศาเซลเซียส จึงไม่มีปัญหาที่จะติดตั้งกล่องไว้ในห้องเครื่อง หรือสำหรับมอเตอร์ไซค์ บิ๊กไบค์ ก็สามารถติดตั้งไว้ในส่วนที่โดนน้ำโดนฝนได้

Q : ติดกล่องแล้วจะได้ แรงม้า แรงบิด เหมือนกล่องดันราง กล่องจูน หรือไม่
A : เป็นเรื่องที่เข้าใจผิดกันมาโดนตลอด กล่องกรองไฟจะช่วยในเรื่องระบบไฟเป็นหลัก เครื่องยนต์ก็ต้องการกำลังไฟ ระบบควบคุมก็ต้องการกำลังไฟ อุปกรณ์อํานวยความสะดวกก็ต้องการกำลังไฟ กล่องดันราง กล่องจูนก็ต้องการกำลังไฟ ในเรื่องของอันตราเร่งก็มีผลเนื่องจากเครื่องยนต์ได้รับกำลังไฟที่เพียงพอ จะเห็นได้ว่าเครื่องยนต์เดินเรียบกว่า ตอนที่ยังไม่ได้ติดกล่อง

Q : รถใหม่ ติดกรองไฟดีไหม
A : ติดกรองไฟไว้ก่อนก็ดี แต่อยากใช้ลองใช้รถเดิมๆ ไปก่อน เพราะว่ากรองไฟที่ติดมากับรถทำงานได้ดีอยู่ แต่กรองที่ติดมากับรถมีอายุการใช้งานที่น้อย การกรองพอใช้ได้ แต่ถ้าไปติดอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม การกรองก็จะด้อยคุณภาพลงไป ถ้าอยากติดกรองไฟก็สามารถติดได้เลย หรือรอซักปีค่อยมาติดก็ยังไม่สาย

Q : แต่งรถ ติดเกจ์วัดรอบต่างๆ บางที่ก็ลวนๆ ติดกรองไฟสามารถช่วยได้หรือไม่
A : กรองไฟสามารถช่วยให้เกจ์วัดรอบต่างๆ ทำงานได้ปกติ เพราะเกจ์แต่ละตัวต้องต่อจากหลายจุดในการวัดรอบต่างๆ และมีการใช้ไฟร่วมกับจุดจุดนั้น ทำให้เวลาส่วนที่วัดต่างๆ ทำงานมีการดึงไฟไปใช้ จึกทำให้ไฟไปเลี้ยงเกจ์ไม่เพียงพอ เลยเกิดอาการลวนได้

Q : ผู้ผลิต ผู้ขาย ได้เคยติดกล่องใช้เองบ้างไหม
A : แน่นอนว่า ผู้ผลิต ผู้ขาย ต้องติดกล่องใช้งานในรถของตัวเองอยู่แล้ว ถ้าผู้ผลิต ผู้ขาย ยังไม่กล้าติดใช้ในรถตัวเอง แล้วจะไปขายให้ใครได้ แล้วผู้ซื้อจะมีความมั่นใจได้ยังไง จริงไหมครับ

Q : ถ้าวันนึง เราถอดกล่องออกจะมีผลกับเครื่องยนต์หรือไม่
A : ไม่มีผลกระทบกับเครื่องยนต์ กับระบบแน่นอน แค่ระบบไฟกลับไปเป็นเหมือนเดิมเท่านั้นเอง

Q. รถที่ติดตั้งกล่องไปจะเห็นผลเหมือนกันหรือไม่
A : หลังติดตั้งกล่องกรองไฟ อาการของรถแต่ละจะไม่เหมือนกัน บางคนก็บอกว่าเครื่องยนต์นิ่งเงียบกว่าเดิม บางคนก็บอกว่าแอร์เย็นขึ้น บางคนก็บอกว่ารอบมาไวขึ้ บางคนก็บอกว่าอาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากเครื่องยนต์ เกียร์ ลดลง หลักๆ เลยคือคนขับเคยสังเกตอาการรถตัวเองหรือไม่

Q : ถอดกล่องออกแล้วไฟแสดงสถานะยังติดเป็นชั่วโมงๆ ปกติดหรือไม่
A : ปกติครับ เพราะความจุกระแสไฟฟ้าของกล่องมีเยอะมาก ทำให้เมื่อถอดกล่องออกมาแล้วไฟจะยังติดค้างอยู่ ไฟค้างน้อยหรือเป็นชั่วโมงขึ้นอยู่กับความจุกระแสไฟฟ้าของกล่องแต่ละรุ่นครับ

Q : ติดกล่องแล้วมันจะประหยัดน้ำมันขึ้นหรือไม่
A : ถ้าขับในเมือง อัตราสิ้นเปลืองปกติ แต่ถ้าขับ ต่างจังหวัด ยาวๆ 1 ถัง ได้ระยะทางเพิ่มประมาณ 40 - 80 กิโล หลังๆ เลยจะขึ้นอยู่กับการขับรถของแต่ละคน

Q : กรองไฟมีผลยังไงกับเครื่องยนต์
A : ช่วยกรองไฟที่เป็นสัญญานไม่เรียบ ให้เรียบขึ้น อุปกรณ์ไฟฟ้า dc ในรถยนต์จะทำงานได้ดีเยี่ยม ถ้าไฟไม่เรียบจะมีผลต่อการทำงานของระบบไฟฟ้ารถยนต์ ทำให้การจุดระเบิดเพี้ยนไป ไม่แม่นยำ การจ่ายน้ำมันก็เปลือง และเร่งไม่ขึ้น

Q : หลังดับเครื่อง ทำไมกล่องถึงร้อน ปกติหรือไม่
A : กล่องร้อนหลังจากดับเครื่องยนต์เป็นเรื่องปกติ เพราะเวลาเครื่องยนต์ทำงานจะเกิดความร้อนภายในห้องเครื่อง จึงเป็นเรื่องปกติอุปกรณ์ต่างๆ ภายในห้องเครื่องจะร้อนตามไปด้วย สังเกตง่ายๆ หลังจากดับเครื่อยนต์ไว้คืนนึงให้ภายในห้องเครื่องเย็น แล้วลองแตะที่กล่องดู กล่องจะไม่มีความร้อน หรือถ้ากล่องร้อนก็ถือว่าไม่ปกติ
2

ปั้มไลค์เพจ ถูกใจแฟนเพจ เพิ่มผุ้ติดตาม ไลค์สเตตัส รูป วิดีดอ คอมเมนต์ ไม่จำกัด

« โดย พยายาม เมื่อ พฤศจิกายน 2016-07-20 17:47:33 »

โปรสุดคุ้ม จากปกติ 799 บ.
ลดเหลือ 400 บ.

ถูกกว่าไอจีอื่น
เป็นระบบร้านใช้รับใช่ปั้มกัน
สุดคุ้ม 400 รับโปรแกรมดังนี้
--------------------------------------------------------------
1.ระบบปั้มไลค์เฟสไทยล้วน
2.ระบบปั้มผู้ติดตามปั้มคนถูกใจเพจคนไทย
3.ระบบอ้อโต้ไลค์เฟส ไลค์ขึ้นเอง
4.ระบบอำนวยความสะดวกเฟส
5.ระบบอันฟอลไอจี
6.ระบบหาลูกค้าเพิ่มยอดขาย
-----------------------------------------------------------
ใช้งานจ่าย เข้าระบบแล้วปั้มได้เลย ไลค์ขึ้นเลย ตั้งไลค์ให้ขึ้นอัตโนมัติได้ กำหนดไลค์ได้ บุคคลที่มาไลค์เป็นผู้ใช้จริง จะปั้มเท่าไรก็ได้
ระบบปลอดภัย ไม่รวนไปกดเฟสคนอื่นมั่ว
-----------------------------------------------------------
สนใจสั่งเลย
line ไอดี g.follow
http://line.me/ti/p/tJQi4OD8DH
ไอจีร้านเรา @followup_like
https://www.instagram.com/followup_like/
สั่งเลยรอไร
#ปั้มติดตาม #ปั้มไลค์ #ปั้มไลค์เฟส #ปั๊มไลค์แฟนเพจ #ปั้มฟอลโล่ #ปั้มฟอล #ปั้มผู้ติดตามในเฟสบุ๊ค #ออโต้ไลค์ #เพิ่มไลค์เฟสhttp://upic.me/i/ew/16-07-13-17-08-32-026_deco.jpg
3

งานแข่งกับโชว์รายการ Thailand Supershow Audio Contest (Tsac)สนามแรก อ.ปากช่อง

« โดย พยายาม เมื่อ พฤศจิกายน 2015-06-22 11:52:22 »

ฝากงานนี้ด้วยครับ
งานแข่งขันที่ไม่จำกัดค่าย แต่เน้นที่ความโปร่งใส เป็นกลาง
แข่งแล้วได้เพื่อนต้องงานนี้เลยครับ TSAC แล้วเจอกันในวันอบรมที่ 8 สิงหาคม และวันแข่งขันที่ 29 สิงหาคมครับ
http://upic.me/i/mw/wdtfw.jpg
http://upic.me/i/2z/rkqwf.jpg
http://upic.me/i/8j/apmyw.jpg
4

โชว์เครื่องเสียง แบบดิสโก้เทคกลางแจ้ง30มิถุนายน 56นี้ สุพรรณบุรี

« โดย พยายาม เมื่อ พฤศจิกายน 2013-06-07 21:06:11 »

โชว์เครื่องเสียง แบบดิสโก้เทคกลางแจ้ง 30มิถุนายน 56นี้ ณ.สนาม ร.ร โพธิ์นฤมิตร ต.ดอนปรู อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี พบกับดีเจ อ๊อฟ แอบจิตร และโคโยตี้ สาวสวยมากมาย เรียนเชิญรถเครื่องเสียงเข้าร่วมสนุก ไม่จำกัดค่าย จัดโดย BOONLUR AUTO CARhttp://upic.me/i/ch/971898_476343379102087_1264869634_n2.jpg
5

ขอเชิญร่วมงานแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ ลําปาง SUPER dB CONTEST 24 มิถุนายน 55

« โดย พยายาม เมื่อ พฤศจิกายน 2012-06-01 14:07:13 »

ขอเชิญร่วมงานแข่งเครื่องเสียงรถยนต์  ลําปาง  SUPER dB CONTEST 24 มิถุนายน 55

มหากาพ แห่งานแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ สนามภาคเหนือ ตอนบนLUMPANG SUPERNdB CHAMPION อาทิตย์ที่ 24มิถุนายน 2555 ณ ลาน กิจกรรม ตลาดคลองถม อําเภอเมืองจังหวัดลําปาง นับเป็นการกลับมาระเบิดความมันส์ในจังหวัดลําปางเป็นคร้งที่3 ของงานแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ในเขตภาคเหนือตอนบน หลังจากที่กระแงนแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ในจังหวัดลําปาง ฮิต และติดลมบน "สิงห์เหนือ" ดีเจ แจ็คกี้ ผู้ดําเนินการจัดการแข่งขัน จึงเอาใจแฟนนักแข่งภาคเหนือตอนบน ด้วยการจัดงานแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ LUMPANG SUPERNdB CHAMPION อาทิตย์ที่ 24มิถุนายน 2555 ณ ลาน กิจกรรม ตลาดคลองถม อําเภอเมืองจังหวัดลําปาง งานนี้ จัดให้นักแข่งได้ประลองฝีมือกันอย่างเต็มสูบ อีกทั้งยังขนชุดแข่งจากภาคเหนือตอนล่างขึ้นมาดวลกับนักแข่งภาคเหนือตอนบนกันอย่างสนุก ดังนั้นงานี้ จึงเป็นการพิสูจน์ฝีมือระหว่างนักแข่งใครดีใครอยู่ สู้กันถึงฎีกาเลยครับ ภายใต้กติกา SUPER dB CONTEST ตัดสิน โดย ทีมงาน ดีเจ แจ็คกี้ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม 086-4091672 กติกาการแข่งขันSUPER dB THAILAND CONTEST
เปิดการแข่งขันทั้งหมด 24รุ่นดังตจ่อไปนี้
รุ่น 1 STANDARS 10 SEDAN- VAN
2 STANDARS 10 PICK UP
3 STANDARS 12 SEDAN- VAN
4 STANDARS 12 PICK UP
5 STANDARS 15 SEDAN- VAN
6 STANDARS 15 PICK UP
รุ่น 7 PRO 10.1 SEDAN - VAN
8 PRO 10.1 PICK UP
9 PRO 12.1 SEDAN -VAN
10PRO 12.1 PICK UP
11 PRO 15.1 SEDAN -VAN
12 PRO 15.1 PICK UP
13 PRO 10.2 SEDAN - VAN
14 PRO 10.2 PICK UP
15 PRO 12.2 SEDAN -VAN
16 PRO 12.2 PICK UP
17 PRO 15.2 SEDAN -VAN
18 PRO 15.2 PICK UP
19 รุ่น 2000 w
21 203000w
22 6000 w
23 open
24 super show
ค่าสมัคร รุ่น ละ 1,500 บาท สมัคร 3รุ่น ฟรี 1รุ่น
ใช้ สินค้า LEVEN - TDR - KS SUPER AUDIO- big macth
รับส่วนลดพิเศษ 10 %
เริ่มแข่งขัน รุ่นแรก 11.39 น
รถที่ไม่ได้ร่วมแข่งขัน เก็บค่าโชว์คันละ 100 บาท
กติกา การแข่งขัน รายละเอียดกติกาที่ปรับแต่งใหม่มีดังต่อไปนี้
1 รุ่น STANDARD ถึงรุ่น PRO - OPEN การติดตั้ง ใช้กติกาเดิมทุกอย่าง
2 รุ่น STANDARD ใช้เพลงเปิด แทรคที่ 4 เท่านั้น
3 การแข่งขันที่ทุกรุ่น นักแข่งสามารถ วัดได้สองครั้ง โดยครั้งแรก จะเป็นการ คลอลิฟาย หรือนักแข่งสามารถวัดทีเดียวสองครั้งเอาสกอร์ที่ดีที่สุด
4 ทุกรุ่นการแข่งขัน วัด 30 วินาที ครั้งเดียว ใช้เครื่องวัด T.L
5 ทุกรุ่นการแข่งขัน จะวัดภายในรถเท่านั้น ยกเว้นรุ่น SUPER SHOW ที่วัดนอกรถ
6 ทุกรุ่นการแข่งขัน สามารถเปิดประตูได้หนึ่งข้าง
สอบถามรายละเอียดกติกา และสถานที่แข่งขันได้ที่ 086-4091672(ดี. เจ แจ็คกี้)1. กลุ่มการแข่งขันประเภทพลังเสียง (SPL Challenge)
• super dB SPL STANDARD
•super dB SPL PRO
• super dB SPL OPEN
โดยมีรายละเอียดและกฎเกณฑ์ต่างๆ และการแบ่งรุ่นในแต่ละกลุ่มตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้
ค่าสมัคร
1. การแข่งขัน มีค่าสมัครคันละ1500 บาท สมัคร 3 รุ่น ฟรี 1รุ่น
2. ไม่จำกัดค่ายสินค้าของอุปกรณ์เครื่องเสียงที่ใช้ในรถที่เข้าแข่งขัน

ระเบียบกฎเกณฑ์ทั่วไปในวันแข่งขัน
1. ไม่จำกัดจำนวนรถยนต์ที่เข้าร่วมการแข่งขัน โดยสามารถสมัครเข้าแข่งขันในแต่ละสนามได้ภายใน 1 สัปดาห์ก่อนวันแข่งขันของสนามนั้นๆ
2. ผู้สมัครสามารถเข้าแข่งขันหลายรุ่นด้วยรถยนต์คันเดียวกันได้ แต่ต้องอยู่ในกฎข้อบังคับของรุ่นนั้นๆ
3. ในการสมัคร ผู้เข้าแข่งขันต้องกรอกข้อมูลในใบสมัครให้ครบถ้วน พร้อมทั้งลงนามยินยอมในข้อตกลง เพื่อยืนยันความเข้าใจและยอมรับกฎกติกาทั้งหมดที่เขียนไว้
4. ผู้แข่งขันต้องนำรถยนต์เข้าสู่สนามแข่งขันและลงทะเบียนตรวจสภาพ (Verification) ภายในเวลา 10.00 น. ของวันที่ทำการแข่งขัน การมาสายอาจเป็นเหตุให้ถูกตัดคะแนนหรือถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขันในสนามนั้นได้
5. กำหนดการแข่งขันสามารถยกเลิก หรือเลื่อนได้ โดยขึ้นอยู่กับสภาพของภูมิอากาศหรือแรงกดดันจากสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเกินกว่าเหตุผลที่ทางผู้จัดการแข่งขันจะควบคุมได้
6. ผู้จัดการแข่งขันไม่ต้องรับผิดชอบสำหรับการสูญเสีย หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นกับผู้แข่งขัน หรือบุคคลอื่นอันเป็นผลมาจากการยกเลิก ตัดสิทธิ์ หรือการเลื่อนการตัดสินสำหรับสถานการณ์ที่นอกเหนือกฎเกณฑ์ข้อบังคับข้างต้น และคำตัดสินของหัวหน้าผู้ตัดสินถือเป็นที่สุด
7. หัวหน้าผู้ตัดสินในการแข่งขันแต่ละครั้ง มีอำนาจสูงสุดในการตัดสินวินิจฉัยและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดการแข่งขันในสนามนั้นๆ


รายละเอียดและกฎเกณฑ์การแข่งขัน
หมวดการแข่งขันระบบเครื่องเสียงรถยนต์ที่วัดพลังเสียง (SPL) ด้วยเครื่องมือวัดความดังแสดงผลเป็นตัวเลขที่มีความแม่นยำเชื่อถือได้ แบ่งเป็น 3 ประเภทหลักคือ
SPL Standard
ได้แก่หมวดการแข่งขันพลังเสียงที่มีข้อกำหนดด้วยขนาดและจำนวนลำโพง, เพาเวอร์แอมป์ และมีการดัดแปลงสภาพรถเพียงเล็กน้อย แบ่งออกเป็น 6 รุ่น คือ

1. Standard 10 Sedan & Van
2. Standard 10 Pickup
3. Standard 12 Sedan & Van
4. Standard 12 Pickup
5. Standard 15 Sedan & Van
6. Standard 15 Pickup
SPL Pro
ได้แก่หมวดการแข่งขันพลังเสียงที่มีข้อกำหนดด้วยขนาดและจำนวนลำโพง และมีการดัดแปลงสภาพรถค่อนข้างมาก แบ่งออกเป็น 12 รุ่น คือ

1. Pro 10.1 Sedan & Van
2. Pro 10.1 Pickup
3. Pro 12.1 Sedan & Van
4. Pro 12.1 Pickup
5. Pro 15.1 Sedan & Van
6. Pro 15.1 Pickup
7. Pro 10.2 Sedan & Van
8. Pro 10.2 Pickup
9. Pro 12.2 Sedan & Van
10. Pro 12.2 Pickup
11. Pro 15.2 Sedan & Van
12. Pro 15.2 PickupSPL Open
ได้แก่หมวดการแข่งขันพลังเสียงที่มีข้อกำหนดด้วยกำลังขับของเพาเวอร์แอมป์ และแทบไม่จำกัดการดัดแปลงสภาพรถ แบ่งออกเป็น 4 รุ่น คือ
1. 2000W
2. 3000W
3. 6000W
4. Open

วิธีการแข่งขัน
มีข้อกำหนดในการแข่งขัน ดังนี้
1. ผู้ร่วมแข่งขันต้องนำรถมาตรวจสอบและเช็คอุปกรณ์ (Verification) จากคณะกรรมการตามวันและเวลาที่กำหนด พร้อมจับสลากเลขที่ลำดับแข่งขันในรุ่นของตน
2. หลังจากตรวจเช็คแล้ว ห้ามนำรถออกนอกพื้นที่รอแข่งจนกว่าจะแข่งเสร็จ
3. ในการวัดค่าเพื่อทราบคะแนนแข่งขันนั้น
a. สำหรับรุ่น Standard จะทำการวัดค่าด้วยเซ็นเซอร์ติดที่กระจกหน้ารถ ห่างจากเสาซ้าย 12 นิ้ว และสูงจากแดชบอร์ด 4 นิ้ว
b. สำหรับรุ่น Pro และ Open จะต้องหันหัวรถเข้าหาไมโครโฟนที่ใช้วัดความดังเท่านั้น โดยล้อหน้าของรถต้องทับตำแหน่งห่างจากไมโครโฟนของผู้ตัดสิน 2 เมตร และไมโครโฟนอยู่สูงจากพื้น 1 เมตร
4. การเร่งรอบเครื่องทำได้ไม่เกิน 2,000 รอบ หากอุปกรณ์วัดเสียหรือไม่มี ห้ามเร่งเครื่องโดยเด็ดขาด
5. ผู้ร่วมการแข่งขันสามารถเปิดเพลงจากนอกรถได้
6. กำหนดให้ใช้แผ่น MAX Sound Check Pro Audio
a. ในการแข่งขันรุ่น Standard ต้องใช้แทร็คที่ 4 เท่านั้น
b. ในรุ่น Pro และ Open สามารถเลือกแทร็คที่ใช้แข่งขันได้ระหว่างแทร็คที่ 2 ถึงแทร็คที่ 9 เท่านั้น
7. การวัดค่าจะคิดที่ค่า SPL สูงสุดที่ทำได้ ในช่วงระยะเวลา 30 วินาที
8. ระหว่างทำการวัดค่า SPL ผู้แข่งขันสามารถทำการเปิดประตูรถทุกบานหรือบานใดบานหนึ่งก็ได้ และสามารถกระพือก็ได้ แต่ห้ามปิดกระแทกตลอดระยะเวลา 30 วินาทีที่ทำการวัดค่าโดยเด็ดขาด
9. สามารถล้มหรือพับเบาะนั่งหน้าลงได้ระหว่างทำการวัดค่า SPL
10. การแข่งขัน สามารถวัดค่าได้เพียง 1 ครั้ง ยกเว้นกรณีที่ตัวเลขของเครื่องมือวัด SPL ไม่ขึ้นเลยตลอดระยะเวลาการวัด 30 วินาที จะอนุญาตให้วัดค่าใหม่ได้อีก 1 ครั้งเท่านั้น
11. กรณีที่ระบบเครื่องเสียงขัดข้อง ให้เวลานอกในการซ่อมแซม 5 นาที แต่ไม่อนุญาตให้ขอเวลานอกในกรณีต่อไปนี้
- เกิดเพลิงลุกไหม้ ระบบไฟฟ้าช๊อต, ลำโพงเสีย, แบตเตอรี่หมด
- ปัญหาอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ให้เป็นวินิจฉัยของหัวหน้าผู้ตัดสิน และต้องถือเป็นที่สิ้นสุด
12. กรณีที่มีการวัดค่าได้เท่ากัน สำหรับคะแนนในตำแหน่งอันดับที่ 1 หรือรองอันดับที่ 1 จะต้องทำการแข่งขันซ้ำอีก 1 ครั้งเพื่อชิงอันดับ แต่หากยังได้ค่าเท่ากันอีก ให้ครองรางวัลร่วมกัน
13. การแข่งขันซ้ำเพื่อชิงอันดับ จะไม่นำผลคะแนนจากการชิงอันดับมาใช้เป็นสถิติความดัง
14. คณะกรรมการมีสิทธิ์ในการตรวจสอบรถที่ได้รับรางวัลทุกคันอีกครั้งก่อนประกาศผลการตัดสินอย่างเป็นทางการ
15. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด

การประท้วงการแข่งขัน
การประท้วงผู้เข้าร่วมแข่งขัน มีเงื่อนไขดังนี้
1. ผู้ประท้วงต้องแข่งขันอยู่ในรุ่นเดียวกับผู้ถูกประท้วงเท่านั้น
2. ผู้ประท้วงต้องประท้วงในกฎเกณฑ์ข้อบังคับของรุ่นนั้นเท่านั้น และต้องทำการประท้วงภายในช่วงเวลาระหว่างทำการแข่งขันรุ่นนั้น หากเริ่มต้นแข่งขันรุ่นอื่นแล้วจะถือว่าผู้เข้าร่วมแข่งขันยอมรับในผลการแข่งขันของคู่แข่งขันในรุ่นนั้นๆ
3. ผู้ประท้วงต้องวางเงินค่าประท้วงเป็นเงินสดจำนวน 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) ทันทีที่ทำการประท้วง และให้หัวหน้าผู้ตัดสินเป็นผู้ถือเงินค่าประท้วงไว้
4. ผู้ถูกประท้วงมีสิทธิในการคัดค้านการประท้วง โดยให้คณะกรรมการเป็นผู้พิจารณารับหรือไม่รับคำประท้วง
5. หากผลการประท้วงเป็นผล ผู้ถูกประท้วงทำผิดกฎจริง ผู้ประท้วงจะได้รับเงินค่าประท้วงคืน ส่วนผู้ถูกประท้วงจะถูกริบรางวัลทั้งหมด พร้อมทั้งตัดสิทธิ์การแข่งขันทุกรุ่นในทันที
6. หากการประท้วงไม่เป็นผล ผู้ถูกประท้วงไม่ได้ทำผิดกฎใดๆ ผู้ถูกประท้วงจะได้รับเงินค่าประท้วงจำนวน 20,000 บาทไป
7. การพิสูจน์ตามข้อประท้วง ต้องดำเนินการทันทีภายหลังการแข่งขันเสร็จสิ้นในรุ่นนั้นๆ ยกเว้นในกรณีที่ต้องมีการรื้อสภาพรถหรือรื้อตู้ลำโพง หรือรื้อเพาเวอร์แอมป์ ซึ่งต้องใช้เวลาและก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเสียง ต้องทำการพิสูจน์ภายหลังเสร็จสิ้นการแข่งขันครบทุกรุ่นแล้ว โดยในระหว่างรอการพิสูจน์ ต้องจอดรถทิ้งไว้ในสถานที่ที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงใดๆ อันอาจมีผลต่อการพิสูจน์ข้อประท้วง
8. เมื่อคณะกรรมการพิจารณารับคำประท้วง แต่ผู้ถูกประท้วงไม่ยินยอมพิสูจน์ตามข้อประท้วง คณะกรรมการมีสิทธิ์ในการพิจารณาตัดสิทธิ์การแข่งขันหรือยกเลิกผลการแข่งขันของผู้ถูกประท้วงได้
9. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
ข้อกำหนดเครื่องเสียง
1. สามารถใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ได้ไม่เกิน 2 เครื่องต่อลำโพง 1 ข้าง
2. เพาเวอร์แอมป์ที่มีหลายแชนแนลในเครื่องเดียวกัน จะถือว่า 2 แชนแนลมีความหมายเท่ากับเพาเวอร์แอมป์ 1 เครื่อง หากเกินสองแชนแนล ให้นับจำนวนแชนแนลทั้งหมดแล้วหารด้วยสอง
3. ลำโพงเสียงกลาง-แหลม อนุญาตให้ใช้ขนาดไม่เกิน 7 นิ้ว จำนวนไม่เกิน 2 คู่
4. เพาเวอร์แอมป์ขับลำโพงกลางแหลมไม่จำกัดขนาดกำลังขับและจำนวนเครื่อง
5. เครื่องเล่นที่ใช้ในการเปิดแผ่นซีดีสำหรับการแข่งขัน สามารถใช้ได้ทั้งเครื่องเล่นวิทยุซีดี หรือตู้เชนเจอร์ก็ได้
6. ในกรณีที่ใช้ตู้เชนเจอร์ ต้องไม่มีแผ่นซีดีแผ่นอื่นอยู่ในแมกกาซีน นอกจากแผ่นที่ใช้เพื่อการแข่งขันเท่านั้น
7. อนุญาตให้ใช้งานปรีแอมป์ ครอสโอเวอร์ หรืออุปกรณ์ปรับแต่งเสียงอื่นๆ ได้ไม่จำกัด
8. ชุดเครื่องเสียงที่ใช้งานทั้งหมดต้องเป็นเครื่องเสียงรถยนต์เท่านั้น
SPL Standard
1. รุ่น Standard 10 ติดตั้งเพาเวอร์แอมป์คลาสดีได้ไม่เกิน 2,000 วัตต์ที่ 1 โอห์ม และลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 10 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
2. รุ่น Standard 12 ติดตั้งเพาเวอร์แอมป์คลาสดีได้ไม่เกิน 3,000 วัตต์ที่ 1 โอห์ม และลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 12 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
3. รุ่น Standard 15 ติดตั้งเพาเวอร์แอมป์คลาสดีได้ไม่เกิน 4,500 วัตต์ที่ 1 โอห์ม และลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 15 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
SPL Pro
1. รุ่น Pro 10.1 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 10 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
2. รุ่น Pro 12.1 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 12 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
3. รุ่น Pro 15.1 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 15 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
4. รุ่น Pro 10.2 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 10 นิ้วได้ไม่เกิน 2 คู่
5. รุ่น Pro 12.2 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 12 นิ้วได้ไม่เกิน 2 คู่
6. รุ่น Pro 15.2 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 15 นิ้วได้ไม่เกิน 2 คู่
SPL Open
1. รุ่น Pro 2000W ใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ไม่จำกัดจำนวนเครื่อง กำลังขับรวมไม่เกิน 2,000 วัตต์
2. รุ่น Pro 3000W ใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ไม่จำกัดจำนวนเครื่อง กำลังขับรวมไม่เกิน 3,000 วัตต์
3. รุ่น Pro 6000W ใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ไม่จำกัดจำนวนเครื่อง กำลังขับรวมไม่เกิน 6,000 วัตต์
4. รุ่น Open ไม่จำกัดจำนวนและกำลังขับเพาเวอร์แอมป์
5. ระบุกำลังขับเพาเวอร์แอมป์จากโฆษณาหรือจากคู่มือของเครื่อง โดยดูที่กำลังขับ RMS ที่โหลด 1 โอห์ม เมื่อใช้แรงดันไฟปกติ (ช่วงระหว่าง 12.0 – 14.8 Vdc)
ข้อกำหนดระบบไฟฟ้า
1. ไม่จำกัดแรงดันไฟ DC ที่ใช้งานกับระบบเครื่องเสียงภายในรถ
2. ในขณะแข่งขัน ไฟฟ้าที่จ่ายให้กับเครื่องเสียงภายในรถ ต้องเป็นไฟฟ้าที่ได้จากชุดอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าที่ติดตั้งภายในรถคันนั้นๆ ห้ามต่อไฟฟ้าจากภายนอกโดยเด็ดขาด
3. ในกรณีที่แยกชุดเครื่องเล่นซีดีเพื่อเปิดเพลงจากภายนอกรถ ชุดเครื่องเล่นนั้นต้องใช้ไฟฟ้าจากชุดแบตเตอรี่ภายในรถเช่นกัน
รุ่น Standard
4. จำกัดแบตเตอรี่ (12 Volts) ได้ไม่เกิน 2 ลูก (ลูกเดิม 1 + เพิ่มเติมอีก 1)
5. ห้ามใช้เซลเพิ่มโวลท์ หรือแบตเตอรี่เสริมอื่นๆ ในลักษณะเพื่อการเพิ่มแรงดันไฟฟ้าในรถยนต์ให้มีแรงดันเกินมาตรฐาน
6. อนุญาตให้ใช้ Capacitor ได้ไม่เกิน 5 ฟารัด (5 ล้านไมโครฟารัด)
7. จำกัดจำนวนไดชาร์จ (อัลเตอร์เนเตอร์) 1 ลูก ณ ตำแหน่งเดิมของเครื่องยนต์ ห้ามเพิ่มเติมลูกที่สอง แต่สามารถโมดิฟายด์เพิ่มกำลังได้
รุ่น Pro และ Open
8. ไม่จำกัดจำนวนแบตเตอรี่ภายในรถ
9. ไม่จำกัดจำนวนไดชาร์จ (อัลเตอร์เนเตอร์)
SPL Standard
ประเภทรถเก๋ง
1. กรณีเป็นรถเก๋ง (Sedan) ที่มีห้องสัมภาระแยกส่วนด้านท้ายรถ (ฝากระโปรงท้าย) ตู้ลำโพงและดอกลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมดต้องติดตั้งอยู่ภายในห้องสัมภาระด้านท้ายรถ อนุโลมให้มีส่วนของปากพอร์ทหรือท่อระบายเสียงเบสยื่นล้ำเข้ามาได้แต่ไม่เกินความหนาของพนักพิงเบาะหลังหรือไม่เกินขอบประตูหลังหรือเสา C
2. กรณีรถเก๋งแวน อนุญาตรถเก๋งหรือรถอเนกประสงค์ (MPV) ประเภท 3 หรือ 5 ประตู รวมถึงรถสปอร์ตคูเป้ 2+2 ที่นั่ง โดยตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา C หรือขอบประตูหลังของรถประเภท 5 ประตู ส่วนกรณีรถ 3 ประตูหรือรถสปอร์ตคูเป้ ต้องอยู่หลังเบาะนั่งแถวที่สอง โดยตัวตู้ต้องสูงไม่เกินความสูงของพนักพิงมาตรฐานของเบาะนั่งแถวที่สอง
3. ห้ามใช้รถที่มีการวางเครื่องยนต์ไว้กลางหรือด้านหลังซึ่งห้องสัมภาระอยู่ด้านหน้ารถ เข้าแข่งขันในประเภทนี้
4. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ต้องติดตั้งไว้ภายในรถ ห้ามติดตั้งไว้ด้านนอกหรือวางไว้บนหลังคาหรือฝากระโปรงโดยเด็ดขาด
ประเภทรถกระบะ
1. กรณีรถกระบะ ต้องเป็นรถกระบะที่ไม่ถูกเจาะช่องเชื่อมต่อระหว่างหัวเก๋งกับกระบะด้านท้าย ไม่ว่าจะเป็นกระบะประเภทสองหรือสี่ประตู โดยตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และความสูงตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ต้องไม่เกินขอบล่างของกระจกบังลมหลัง และต้องมีพื้นที่นั่งให้สำหรับผู้โดยสารอย่างน้อย 1 ท่าน
2. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ สามารถติดตั้งไว้ภายในกระบะท้ายรถได้ แต่ต้องยึดแน่นและมั่นใจว่าจะไม่หล่นจากรถในขณะขับขี่จริงบนท้องถนน
สภาพรถ
1. ต้องมีเบาะนั่งคู่หน้าทั้งฝั่งคนขับและฝั่งผู้โดยสาร และเบาะนั่งนั้นต้องเป็นเบาะนั่งสำหรับรถยนต์และยึดติดตั้งอย่างแน่นหนาและสามารถนั่งได้จริง
2. ในกรณีรถเก๋งประเภท MPV, Van หรือสปอร์ตคูเป้ 2+2 ที่นั่ง ต้องมีเบาะนั่งแถวที่สองตามมาตรฐานติดรถยนต์ ห้ามถอดออกหรือเปลี่ยนพนักพิงพร้อมเบาะนั่งแถวที่สองโดยเด็ดขาด
3. ห้ามถอดกระจกหน้าต่าง รวมถึงกระจกบังลมทั้งด้านหน้าและด้านหลังออกโดยเด็ดขาด
4. ลำโพงกลางแหลมที่ใช้งาน ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในประตูรถ ห้ามติดตั้งไว้ภายนอกตัวรถโดยเด็ดขาด และในกรณีที่บานประตูเปิดอ้าออกด้านหน้ารถ ห้ามติดตั้งลำโพงกลางแหลมไว้ที่บานประตูด้วยเช่นกัน
5. ตัวรถสามารถปรับปรุงเสริมความแข็งแรงและความสวยงามได้ตามสมควร แต่ต้องยังคงสภาพเดิมของรถไว้เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ตัดสิน
6. รถยนต์ต้องสามารถขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์ได้ และต้องมีทะเบียนรถถูกต้องตามกฎหมาย

SPL Pro
ประเภทรถ Sedan (เก๋ง)
1. อนุญาตรถเก๋งทุกประเภท ทั้งซีดาน 4 ประตู, รถแวนหรือรถอเนกประสงค์ทั้ง 3 ประตูและแบบ 5 ประตู, รถสปอร์ต ฯลฯ ยกเว้นรถกระบะเท่านั้น
2. ตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และสามารถกั้นผนังเต็มความสูงรถเพื่อทำเป็นตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ได้
3. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ต้องติดตั้งไว้ภายในรถ ห้ามติดตั้งไว้ด้านนอกหรือวางไว้บนหลังคาหรือฝากระโปรงโดยเด็ดขาด
ประเภทรถ Pickup
1. รถกระบะ สามารถเจาะช่องเชื่อมต่อระหว่างหัวเก๋งกับกระบะด้านท้าย ไม่ว่าจะเป็นกระบะประเภทสองหรือสี่ประตู รวมถึงรถกระบะที่ต่อหลังคาที่กระบะด้วย โดยตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และสามารถกั้นผนังเต็มความสูงรถเพื่อทำเป็นตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ได้
2. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ สามารถติดตั้งไว้ภายในกระบะท้ายรถได้ แต่ต้องยึดแน่นและมั่นใจว่าจะไม่หล่นจากรถในขณะขับขี่จริงบนท้องถนน
สภาพรถ
1. ต้องมีเบาะนั่งหน้าฝั่งคนขับ และเบาะนั่งนั้นต้องเป็นเบาะนั่งสำหรับรถยนต์และยึดติดตั้งอย่างแน่นหนาและสามารถนั่งขับรถได้จริง
2. ลำโพงกลางแหลมที่ใช้งาน ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในประตูรถ ห้ามติดตั้งไว้ภายนอกตัวรถโดยเด็ดขาด และในกรณีที่บานประตูเปิดอ้าออกด้านหน้ารถ ห้ามติดตั้งลำโพงกลางแหลมไว้ที่บานประตูโดยเด็ดขาด
3. ตัวรถสามารถปรับปรุงเสริมความแข็งแรงและความสวยงามได้ตามต้องการ แต่ต้องยังคงสภาพเดิมของรถไว้เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ตัดสิน
4. รถยนต์ต้องสามารถขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์ได้ และต้องมีทะเบียนรถถูกต้องตามกฎหมาย
SPL Open
1. อนุญาตรถทุกประเภททั้งเก๋งและกระบะ แข่งรวมกันทั้งหมด
2. ตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และสามารถกั้นผนังเต็มความสูงรถเพื่อทำเป็นตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ได้
3. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในกระบะรถ ห้ามติดตั้งไว้ด้านนอกหรือวางไว้บนหลังคาหรือฝากระโปรง และต้องยึดแน่นหนาให้มั่นใจว่าจะไม่หล่นจากรถในขณะขับขี่จริงบนท้องถนน
4. ลำโพงกลางแหลมที่ใช้งาน ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในประตูรถ ห้ามติดตั้งไว้ภายนอกตัวรถโดยเด็ดขาด และในกรณีที่บานประตูเปิดอ้าออกด้านหน้ารถ ห้ามติดตั้งลำโพงกลางแหลมไว้ที่บานประตูโดยเด็ดขาด
10. รถยนต์ต้องสามารถขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์ได้ และต้องมีทะเบียนรถถูกต้องตามกฎหมาย
6

ขอเชิญร่วมงานแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ รายการ SUPER db CONTEST 2012 สนาม สโขทัย

« โดย พยายาม เมื่อ พฤศจิกายน 2012-05-23 14:42:10 »

ขอเชิญร่วมงานแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ รายการ SUPER db CONTEST 2012  สนาม สโขทัย
ขอเชย สิงห์ นักแข่งเครื่องเสียงรถยนต์ร่วมประลองฝีมือ แข่งเครื่องเสียงรถยนต์ รายการยอดฮิต อันดับหนึ่งขอวภาคเหนือ และอื่นๆSUPER db CONTEST 2012 ในวันอาทิตย์ที่10มิถุนายน55 ณ ลานกิจกรรม สวนนํา เปรมสุข อําเภอเมืองจังหวัดสุโขทัย ค่าสมัครรุ่นละ 1500บาท สมัคร 3 รุ่น ฟรี 1รุ่น ในงานพบกับสุดยอกรถแข่งจากทั่วภาคเหนือ เปิดแข่งทั้งหมด 24 รุ่น ตัดสิน โดยทีมงาน ดีเจ แจ็คกี้ ตรง โปร่งใส ไม่ล๊อค รางวัล ไม่อิงคต่ายเครื่องเสียงใหญ่หรือเล็ก สอบถามรายละเอียดกติกาการแข่งขันและสถานที่ 086-4091672  จบการแข่งขัน พบกับการโชว์พลังเสียงพร้อมโคโยตี้ สาวสวย
หมายเหตุ สมัคร การแข่งขันล่วงหน้า ลดค่าสมัคร 10% ติดต่อ 086-4091672

กติกาการแข่งขันSUPER dB THAILAND CONTEST
เปิดการแข่งขันทั้งหมด 24รุ่นดังตจ่อไปนี้
รุ่น 1 STANDARS 10 SEDAN- VAN
2 STANDARS 10 PICK UP
3 STANDARS 12 SEDAN- VAN
4 STANDARS 12 PICK UP
5 STANDARS 15 SEDAN- VAN
6 STANDARS 15 PICK UP
รุ่น 7 PRO 10.1 SEDAN - VAN
8 PRO 10.1 PICK UP
9 PRO 12.1 SEDAN -VAN
10PRO 12.1 PICK UP
11 PRO 15.1 SEDAN -VAN
12 PRO 15.1 PICK UP
13 PRO 10.2 SEDAN - VAN
14 PRO 10.2 PICK UP
15 PRO 12.2 SEDAN -VAN
16 PRO 12.2 PICK UP
17 PRO 15.2 SEDAN -VAN
18 PRO 15.2 PICK UP
19 รุ่น 2000 w
21 203000w
22 6000 w
23 open
24 super show
ค่าสมัคร รุ่น ละ 1,500 บาท สมัคร 3รุ่น ฟรี 1รุ่น
ใช้ สินค้า LEVEN - TDR - KS SUPER AUDIO- big macth
รับส่วนลดพิเศษ 10 %
เริ่มแข่งขัน รุ่นแรก 11.39 น
รถที่ไม่ได้ร่วมแข่งขัน เก็บค่าโชว์คันละ 100 บาท
กติกา การแข่งขัน รายละเอียดกติกาที่ปรับแต่งใหม่มีดังต่อไปนี้
1 รุ่น STANDARD ถึงรุ่น PRO - OPEN การติดตั้ง ใช้กติกาเดิมทุกอย่าง
2 รุ่น STANDARD ใช้เพลงเปิด แทรคที่ 4 เท่านั้น
3 การแข่งขันที่ทุกรุ่น นักแข่งสามารถ วัดได้สองครั้ง โดยครั้งแรก จะเป็นการ คลอลิฟาย หรือนักแข่งสามารถวัดทีเดียวสองครั้งเอาสกอร์ที่ดีที่สุด
4 ทุกรุ่นการแข่งขัน วัด 30 วินาที ครั้งเดียว ใช้เครื่องวัด T.L
5 ทุกรุ่นการแข่งขัน จะวัดภายในรถเท่านั้น ยกเว้นรุ่น SUPER SHOW ที่วัดนอกรถ
6 ทุกรุ่นการแข่งขัน สามารถเปิดประตูได้หนึ่งข้าง
สอบถามรายละเอียดกติกา และสถานที่แข่งขันได้ที่ 086-4091672(ดี. เจ แจ็คกี้)1. กลุ่มการแข่งขันประเภทพลังเสียง (SPL Challenge)
• super dB SPL STANDARD
•super dB SPL PRO
• super dB SPL OPEN
โดยมีรายละเอียดและกฎเกณฑ์ต่างๆ และการแบ่งรุ่นในแต่ละกลุ่มตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้
ค่าสมัคร
1. การแข่งขัน มีค่าสมัครคันละ1500 บาท สมัคร 3 รุ่น ฟรี 1รุ่น
2. ไม่จำกัดค่ายสินค้าของอุปกรณ์เครื่องเสียงที่ใช้ในรถที่เข้าแข่งขัน

ระเบียบกฎเกณฑ์ทั่วไปในวันแข่งขัน
1. ไม่จำกัดจำนวนรถยนต์ที่เข้าร่วมการแข่งขัน โดยสามารถสมัครเข้าแข่งขันในแต่ละสนามได้ภายใน 1 สัปดาห์ก่อนวันแข่งขันของสนามนั้นๆ
2. ผู้สมัครสามารถเข้าแข่งขันหลายรุ่นด้วยรถยนต์คันเดียวกันได้ แต่ต้องอยู่ในกฎข้อบังคับของรุ่นนั้นๆ
3. ในการสมัคร ผู้เข้าแข่งขันต้องกรอกข้อมูลในใบสมัครให้ครบถ้วน พร้อมทั้งลงนามยินยอมในข้อตกลง เพื่อยืนยันความเข้าใจและยอมรับกฎกติกาทั้งหมดที่เขียนไว้
4. ผู้แข่งขันต้องนำรถยนต์เข้าสู่สนามแข่งขันและลงทะเบียนตรวจสภาพ (Verification) ภายในเวลา 10.00 น. ของวันที่ทำการแข่งขัน การมาสายอาจเป็นเหตุให้ถูกตัดคะแนนหรือถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขันในสนามนั้นได้
5. กำหนดการแข่งขันสามารถยกเลิก หรือเลื่อนได้ โดยขึ้นอยู่กับสภาพของภูมิอากาศหรือแรงกดดันจากสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเกินกว่าเหตุผลที่ทางผู้จัดการแข่งขันจะควบคุมได้
6. ผู้จัดการแข่งขันไม่ต้องรับผิดชอบสำหรับการสูญเสีย หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นกับผู้แข่งขัน หรือบุคคลอื่นอันเป็นผลมาจากการยกเลิก ตัดสิทธิ์ หรือการเลื่อนการตัดสินสำหรับสถานการณ์ที่นอกเหนือกฎเกณฑ์ข้อบังคับข้างต้น และคำตัดสินของหัวหน้าผู้ตัดสินถือเป็นที่สุด
7. หัวหน้าผู้ตัดสินในการแข่งขันแต่ละครั้ง มีอำนาจสูงสุดในการตัดสินวินิจฉัยและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดการแข่งขันในสนามนั้นๆ


รายละเอียดและกฎเกณฑ์การแข่งขัน
หมวดการแข่งขันระบบเครื่องเสียงรถยนต์ที่วัดพลังเสียง (SPL) ด้วยเครื่องมือวัดความดังแสดงผลเป็นตัวเลขที่มีความแม่นยำเชื่อถือได้ แบ่งเป็น 3 ประเภทหลักคือ
SPL Standard
ได้แก่หมวดการแข่งขันพลังเสียงที่มีข้อกำหนดด้วยขนาดและจำนวนลำโพง, เพาเวอร์แอมป์ และมีการดัดแปลงสภาพรถเพียงเล็กน้อย แบ่งออกเป็น 6 รุ่น คือ

1. Standard 10 Sedan & Van
2. Standard 10 Pickup
3. Standard 12 Sedan & Van
4. Standard 12 Pickup
5. Standard 15 Sedan & Van
6. Standard 15 Pickup
SPL Pro
ได้แก่หมวดการแข่งขันพลังเสียงที่มีข้อกำหนดด้วยขนาดและจำนวนลำโพง และมีการดัดแปลงสภาพรถค่อนข้างมาก แบ่งออกเป็น 12 รุ่น คือ

1. Pro 10.1 Sedan & Van
2. Pro 10.1 Pickup
3. Pro 12.1 Sedan & Van
4. Pro 12.1 Pickup
5. Pro 15.1 Sedan & Van
6. Pro 15.1 Pickup
7. Pro 10.2 Sedan & Van
8. Pro 10.2 Pickup
9. Pro 12.2 Sedan & Van
10. Pro 12.2 Pickup
11. Pro 15.2 Sedan & Van
12. Pro 15.2 PickupSPL Open
ได้แก่หมวดการแข่งขันพลังเสียงที่มีข้อกำหนดด้วยกำลังขับของเพาเวอร์แอมป์ และแทบไม่จำกัดการดัดแปลงสภาพรถ แบ่งออกเป็น 4 รุ่น คือ
1. 2000W
2. 3000W
3. 6000W
4. Open

วิธีการแข่งขัน
มีข้อกำหนดในการแข่งขัน ดังนี้
1. ผู้ร่วมแข่งขันต้องนำรถมาตรวจสอบและเช็คอุปกรณ์ (Verification) จากคณะกรรมการตามวันและเวลาที่กำหนด พร้อมจับสลากเลขที่ลำดับแข่งขันในรุ่นของตน
2. หลังจากตรวจเช็คแล้ว ห้ามนำรถออกนอกพื้นที่รอแข่งจนกว่าจะแข่งเสร็จ
3. ในการวัดค่าเพื่อทราบคะแนนแข่งขันนั้น
a. สำหรับรุ่น Standard จะทำการวัดค่าด้วยเซ็นเซอร์ติดที่กระจกหน้ารถ ห่างจากเสาซ้าย 12 นิ้ว และสูงจากแดชบอร์ด 4 นิ้ว
b. สำหรับรุ่น Pro และ Open จะต้องหันหัวรถเข้าหาไมโครโฟนที่ใช้วัดความดังเท่านั้น โดยล้อหน้าของรถต้องทับตำแหน่งห่างจากไมโครโฟนของผู้ตัดสิน 2 เมตร และไมโครโฟนอยู่สูงจากพื้น 1 เมตร
4. การเร่งรอบเครื่องทำได้ไม่เกิน 2,000 รอบ หากอุปกรณ์วัดเสียหรือไม่มี ห้ามเร่งเครื่องโดยเด็ดขาด
5. ผู้ร่วมการแข่งขันสามารถเปิดเพลงจากนอกรถได้
6. กำหนดให้ใช้แผ่น MAX Sound Check Pro Audio
a. ในการแข่งขันรุ่น Standard ต้องใช้แทร็คที่ 4 เท่านั้น
b. ในรุ่น Pro และ Open สามารถเลือกแทร็คที่ใช้แข่งขันได้ระหว่างแทร็คที่ 2 ถึงแทร็คที่ 9 เท่านั้น
7. การวัดค่าจะคิดที่ค่า SPL สูงสุดที่ทำได้ ในช่วงระยะเวลา 30 วินาที
8. ระหว่างทำการวัดค่า SPL ผู้แข่งขันสามารถทำการเปิดประตูรถทุกบานหรือบานใดบานหนึ่งก็ได้ และสามารถกระพือก็ได้ แต่ห้ามปิดกระแทกตลอดระยะเวลา 30 วินาทีที่ทำการวัดค่าโดยเด็ดขาด
9. สามารถล้มหรือพับเบาะนั่งหน้าลงได้ระหว่างทำการวัดค่า SPL
10. การแข่งขัน สามารถวัดค่าได้เพียง 1 ครั้ง ยกเว้นกรณีที่ตัวเลขของเครื่องมือวัด SPL ไม่ขึ้นเลยตลอดระยะเวลาการวัด 30 วินาที จะอนุญาตให้วัดค่าใหม่ได้อีก 1 ครั้งเท่านั้น
11. กรณีที่ระบบเครื่องเสียงขัดข้อง ให้เวลานอกในการซ่อมแซม 5 นาที แต่ไม่อนุญาตให้ขอเวลานอกในกรณีต่อไปนี้
- เกิดเพลิงลุกไหม้ ระบบไฟฟ้าช๊อต, ลำโพงเสีย, แบตเตอรี่หมด
- ปัญหาอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ให้เป็นวินิจฉัยของหัวหน้าผู้ตัดสิน และต้องถือเป็นที่สิ้นสุด
12. กรณีที่มีการวัดค่าได้เท่ากัน สำหรับคะแนนในตำแหน่งอันดับที่ 1 หรือรองอันดับที่ 1 จะต้องทำการแข่งขันซ้ำอีก 1 ครั้งเพื่อชิงอันดับ แต่หากยังได้ค่าเท่ากันอีก ให้ครองรางวัลร่วมกัน
13. การแข่งขันซ้ำเพื่อชิงอันดับ จะไม่นำผลคะแนนจากการชิงอันดับมาใช้เป็นสถิติความดัง
14. คณะกรรมการมีสิทธิ์ในการตรวจสอบรถที่ได้รับรางวัลทุกคันอีกครั้งก่อนประกาศผลการตัดสินอย่างเป็นทางการ
15. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด

การประท้วงการแข่งขัน
การประท้วงผู้เข้าร่วมแข่งขัน มีเงื่อนไขดังนี้
1. ผู้ประท้วงต้องแข่งขันอยู่ในรุ่นเดียวกับผู้ถูกประท้วงเท่านั้น
2. ผู้ประท้วงต้องประท้วงในกฎเกณฑ์ข้อบังคับของรุ่นนั้นเท่านั้น และต้องทำการประท้วงภายในช่วงเวลาระหว่างทำการแข่งขันรุ่นนั้น หากเริ่มต้นแข่งขันรุ่นอื่นแล้วจะถือว่าผู้เข้าร่วมแข่งขันยอมรับในผลการแข่งขันของคู่แข่งขันในรุ่นนั้นๆ
3. ผู้ประท้วงต้องวางเงินค่าประท้วงเป็นเงินสดจำนวน 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) ทันทีที่ทำการประท้วง และให้หัวหน้าผู้ตัดสินเป็นผู้ถือเงินค่าประท้วงไว้
4. ผู้ถูกประท้วงมีสิทธิในการคัดค้านการประท้วง โดยให้คณะกรรมการเป็นผู้พิจารณารับหรือไม่รับคำประท้วง
5. หากผลการประท้วงเป็นผล ผู้ถูกประท้วงทำผิดกฎจริง ผู้ประท้วงจะได้รับเงินค่าประท้วงคืน ส่วนผู้ถูกประท้วงจะถูกริบรางวัลทั้งหมด พร้อมทั้งตัดสิทธิ์การแข่งขันทุกรุ่นในทันที
6. หากการประท้วงไม่เป็นผล ผู้ถูกประท้วงไม่ได้ทำผิดกฎใดๆ ผู้ถูกประท้วงจะได้รับเงินค่าประท้วงจำนวน 20,000 บาทไป
7. การพิสูจน์ตามข้อประท้วง ต้องดำเนินการทันทีภายหลังการแข่งขันเสร็จสิ้นในรุ่นนั้นๆ ยกเว้นในกรณีที่ต้องมีการรื้อสภาพรถหรือรื้อตู้ลำโพง หรือรื้อเพาเวอร์แอมป์ ซึ่งต้องใช้เวลาและก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบเสียง ต้องทำการพิสูจน์ภายหลังเสร็จสิ้นการแข่งขันครบทุกรุ่นแล้ว โดยในระหว่างรอการพิสูจน์ ต้องจอดรถทิ้งไว้ในสถานที่ที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงใดๆ อันอาจมีผลต่อการพิสูจน์ข้อประท้วง
8. เมื่อคณะกรรมการพิจารณารับคำประท้วง แต่ผู้ถูกประท้วงไม่ยินยอมพิสูจน์ตามข้อประท้วง คณะกรรมการมีสิทธิ์ในการพิจารณาตัดสิทธิ์การแข่งขันหรือยกเลิกผลการแข่งขันของผู้ถูกประท้วงได้
9. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
ข้อกำหนดเครื่องเสียง
1. สามารถใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ได้ไม่เกิน 2 เครื่องต่อลำโพง 1 ข้าง
2. เพาเวอร์แอมป์ที่มีหลายแชนแนลในเครื่องเดียวกัน จะถือว่า 2 แชนแนลมีความหมายเท่ากับเพาเวอร์แอมป์ 1 เครื่อง หากเกินสองแชนแนล ให้นับจำนวนแชนแนลทั้งหมดแล้วหารด้วยสอง
3. ลำโพงเสียงกลาง-แหลม อนุญาตให้ใช้ขนาดไม่เกิน 7 นิ้ว จำนวนไม่เกิน 2 คู่
4. เพาเวอร์แอมป์ขับลำโพงกลางแหลมไม่จำกัดขนาดกำลังขับและจำนวนเครื่อง
5. เครื่องเล่นที่ใช้ในการเปิดแผ่นซีดีสำหรับการแข่งขัน สามารถใช้ได้ทั้งเครื่องเล่นวิทยุซีดี หรือตู้เชนเจอร์ก็ได้
6. ในกรณีที่ใช้ตู้เชนเจอร์ ต้องไม่มีแผ่นซีดีแผ่นอื่นอยู่ในแมกกาซีน นอกจากแผ่นที่ใช้เพื่อการแข่งขันเท่านั้น
7. อนุญาตให้ใช้งานปรีแอมป์ ครอสโอเวอร์ หรืออุปกรณ์ปรับแต่งเสียงอื่นๆ ได้ไม่จำกัด
8. ชุดเครื่องเสียงที่ใช้งานทั้งหมดต้องเป็นเครื่องเสียงรถยนต์เท่านั้น
SPL Standard
1. รุ่น Standard 10 ติดตั้งเพาเวอร์แอมป์คลาสดีได้ไม่เกิน 2,000 วัตต์ที่ 1 โอห์ม และลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 10 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
2. รุ่น Standard 12 ติดตั้งเพาเวอร์แอมป์คลาสดีได้ไม่เกิน 3,000 วัตต์ที่ 1 โอห์ม และลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 12 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
3. รุ่น Standard 15 ติดตั้งเพาเวอร์แอมป์คลาสดีได้ไม่เกิน 4,500 วัตต์ที่ 1 โอห์ม และลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 15 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
SPL Pro
1. รุ่น Pro 10.1 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 10 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
2. รุ่น Pro 12.1 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 12 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
3. รุ่น Pro 15.1 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 15 นิ้วได้ไม่เกิน 1 คู่
4. รุ่น Pro 10.2 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 10 นิ้วได้ไม่เกิน 2 คู่
5. รุ่น Pro 12.2 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 12 นิ้วได้ไม่เกิน 2 คู่
6. รุ่น Pro 15.2 ติดตั้งลำโพงซับวูฟเฟอร์ขนาด 15 นิ้วได้ไม่เกิน 2 คู่
SPL Open
1. รุ่น Pro 2000W ใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ไม่จำกัดจำนวนเครื่อง กำลังขับรวมไม่เกิน 2,000 วัตต์
2. รุ่น Pro 3000W ใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ไม่จำกัดจำนวนเครื่อง กำลังขับรวมไม่เกิน 3,000 วัตต์
3. รุ่น Pro 6000W ใช้เพาเวอร์แอมป์ขับซับวูฟเฟอร์ไม่จำกัดจำนวนเครื่อง กำลังขับรวมไม่เกิน 6,000 วัตต์
4. รุ่น Open ไม่จำกัดจำนวนและกำลังขับเพาเวอร์แอมป์
5. ระบุกำลังขับเพาเวอร์แอมป์จากโฆษณาหรือจากคู่มือของเครื่อง โดยดูที่กำลังขับ RMS ที่โหลด 1 โอห์ม เมื่อใช้แรงดันไฟปกติ (ช่วงระหว่าง 12.0 – 14.8 Vdc)
ข้อกำหนดระบบไฟฟ้า
1. ไม่จำกัดแรงดันไฟ DC ที่ใช้งานกับระบบเครื่องเสียงภายในรถ
2. ในขณะแข่งขัน ไฟฟ้าที่จ่ายให้กับเครื่องเสียงภายในรถ ต้องเป็นไฟฟ้าที่ได้จากชุดอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าที่ติดตั้งภายในรถคันนั้นๆ ห้ามต่อไฟฟ้าจากภายนอกโดยเด็ดขาด
3. ในกรณีที่แยกชุดเครื่องเล่นซีดีเพื่อเปิดเพลงจากภายนอกรถ ชุดเครื่องเล่นนั้นต้องใช้ไฟฟ้าจากชุดแบตเตอรี่ภายในรถเช่นกัน
รุ่น Standard
4. จำกัดแบตเตอรี่ (12 Volts) ได้ไม่เกิน 2 ลูก (ลูกเดิม 1 + เพิ่มเติมอีก 1)
5. ห้ามใช้เซลเพิ่มโวลท์ หรือแบตเตอรี่เสริมอื่นๆ ในลักษณะเพื่อการเพิ่มแรงดันไฟฟ้าในรถยนต์ให้มีแรงดันเกินมาตรฐาน
6. อนุญาตให้ใช้ Capacitor ได้ไม่เกิน 5 ฟารัด (5 ล้านไมโครฟารัด)
7. จำกัดจำนวนไดชาร์จ (อัลเตอร์เนเตอร์) 1 ลูก ณ ตำแหน่งเดิมของเครื่องยนต์ ห้ามเพิ่มเติมลูกที่สอง แต่สามารถโมดิฟายด์เพิ่มกำลังได้
รุ่น Pro และ Open
8. ไม่จำกัดจำนวนแบตเตอรี่ภายในรถ
9. ไม่จำกัดจำนวนไดชาร์จ (อัลเตอร์เนเตอร์)
SPL Standard
ประเภทรถเก๋ง
1. กรณีเป็นรถเก๋ง (Sedan) ที่มีห้องสัมภาระแยกส่วนด้านท้ายรถ (ฝากระโปรงท้าย) ตู้ลำโพงและดอกลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมดต้องติดตั้งอยู่ภายในห้องสัมภาระด้านท้ายรถ อนุโลมให้มีส่วนของปากพอร์ทหรือท่อระบายเสียงเบสยื่นล้ำเข้ามาได้แต่ไม่เกินความหนาของพนักพิงเบาะหลังหรือไม่เกินขอบประตูหลังหรือเสา C
2. กรณีรถเก๋งแวน อนุญาตรถเก๋งหรือรถอเนกประสงค์ (MPV) ประเภท 3 หรือ 5 ประตู รวมถึงรถสปอร์ตคูเป้ 2+2 ที่นั่ง โดยตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา C หรือขอบประตูหลังของรถประเภท 5 ประตู ส่วนกรณีรถ 3 ประตูหรือรถสปอร์ตคูเป้ ต้องอยู่หลังเบาะนั่งแถวที่สอง โดยตัวตู้ต้องสูงไม่เกินความสูงของพนักพิงมาตรฐานของเบาะนั่งแถวที่สอง
3. ห้ามใช้รถที่มีการวางเครื่องยนต์ไว้กลางหรือด้านหลังซึ่งห้องสัมภาระอยู่ด้านหน้ารถ เข้าแข่งขันในประเภทนี้
4. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ต้องติดตั้งไว้ภายในรถ ห้ามติดตั้งไว้ด้านนอกหรือวางไว้บนหลังคาหรือฝากระโปรงโดยเด็ดขาด
ประเภทรถกระบะ
1. กรณีรถกระบะ ต้องเป็นรถกระบะที่ไม่ถูกเจาะช่องเชื่อมต่อระหว่างหัวเก๋งกับกระบะด้านท้าย ไม่ว่าจะเป็นกระบะประเภทสองหรือสี่ประตู โดยตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และความสูงตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ต้องไม่เกินขอบล่างของกระจกบังลมหลัง และต้องมีพื้นที่นั่งให้สำหรับผู้โดยสารอย่างน้อย 1 ท่าน
2. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ สามารถติดตั้งไว้ภายในกระบะท้ายรถได้ แต่ต้องยึดแน่นและมั่นใจว่าจะไม่หล่นจากรถในขณะขับขี่จริงบนท้องถนน
สภาพรถ
1. ต้องมีเบาะนั่งคู่หน้าทั้งฝั่งคนขับและฝั่งผู้โดยสาร และเบาะนั่งนั้นต้องเป็นเบาะนั่งสำหรับรถยนต์และยึดติดตั้งอย่างแน่นหนาและสามารถนั่งได้จริง
2. ในกรณีรถเก๋งประเภท MPV, Van หรือสปอร์ตคูเป้ 2+2 ที่นั่ง ต้องมีเบาะนั่งแถวที่สองตามมาตรฐานติดรถยนต์ ห้ามถอดออกหรือเปลี่ยนพนักพิงพร้อมเบาะนั่งแถวที่สองโดยเด็ดขาด
3. ห้ามถอดกระจกหน้าต่าง รวมถึงกระจกบังลมทั้งด้านหน้าและด้านหลังออกโดยเด็ดขาด
4. ลำโพงกลางแหลมที่ใช้งาน ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในประตูรถ ห้ามติดตั้งไว้ภายนอกตัวรถโดยเด็ดขาด และในกรณีที่บานประตูเปิดอ้าออกด้านหน้ารถ ห้ามติดตั้งลำโพงกลางแหลมไว้ที่บานประตูด้วยเช่นกัน
5. ตัวรถสามารถปรับปรุงเสริมความแข็งแรงและความสวยงามได้ตามสมควร แต่ต้องยังคงสภาพเดิมของรถไว้เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ตัดสิน
6. รถยนต์ต้องสามารถขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์ได้ และต้องมีทะเบียนรถถูกต้องตามกฎหมาย

SPL Pro
ประเภทรถ Sedan (เก๋ง)
1. อนุญาตรถเก๋งทุกประเภท ทั้งซีดาน 4 ประตู, รถแวนหรือรถอเนกประสงค์ทั้ง 3 ประตูและแบบ 5 ประตู, รถสปอร์ต ฯลฯ ยกเว้นรถกระบะเท่านั้น
2. ตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และสามารถกั้นผนังเต็มความสูงรถเพื่อทำเป็นตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ได้
3. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ต้องติดตั้งไว้ภายในรถ ห้ามติดตั้งไว้ด้านนอกหรือวางไว้บนหลังคาหรือฝากระโปรงโดยเด็ดขาด
ประเภทรถ Pickup
1. รถกระบะ สามารถเจาะช่องเชื่อมต่อระหว่างหัวเก๋งกับกระบะด้านท้าย ไม่ว่าจะเป็นกระบะประเภทสองหรือสี่ประตู รวมถึงรถกระบะที่ต่อหลังคาที่กระบะด้วย โดยตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และสามารถกั้นผนังเต็มความสูงรถเพื่อทำเป็นตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ได้
2. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ สามารถติดตั้งไว้ภายในกระบะท้ายรถได้ แต่ต้องยึดแน่นและมั่นใจว่าจะไม่หล่นจากรถในขณะขับขี่จริงบนท้องถนน
สภาพรถ
1. ต้องมีเบาะนั่งหน้าฝั่งคนขับ และเบาะนั่งนั้นต้องเป็นเบาะนั่งสำหรับรถยนต์และยึดติดตั้งอย่างแน่นหนาและสามารถนั่งขับรถได้จริง
2. ลำโพงกลางแหลมที่ใช้งาน ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในประตูรถ ห้ามติดตั้งไว้ภายนอกตัวรถโดยเด็ดขาด และในกรณีที่บานประตูเปิดอ้าออกด้านหน้ารถ ห้ามติดตั้งลำโพงกลางแหลมไว้ที่บานประตูโดยเด็ดขาด
3. ตัวรถสามารถปรับปรุงเสริมความแข็งแรงและความสวยงามได้ตามต้องการ แต่ต้องยังคงสภาพเดิมของรถไว้เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ตัดสิน
4. รถยนต์ต้องสามารถขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์ได้ และต้องมีทะเบียนรถถูกต้องตามกฎหมาย
SPL Open
1. อนุญาตรถทุกประเภททั้งเก๋งและกระบะ แข่งรวมกันทั้งหมด
2. ตู้ลำโพงและลำโพงซับวูฟเฟอร์ทั้งหมด ต้องอยู่ไม่เกินเสา B หรือขอบประตูหน้า และสามารถกั้นผนังเต็มความสูงรถเพื่อทำเป็นตู้ลำโพงซับวูฟเฟอร์ได้
3. เพาเวอร์แอมป์ แบตเตอรี่ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในกระบะรถ ห้ามติดตั้งไว้ด้านนอกหรือวางไว้บนหลังคาหรือฝากระโปรง และต้องยึดแน่นหนาให้มั่นใจว่าจะไม่หล่นจากรถในขณะขับขี่จริงบนท้องถนน
4. ลำโพงกลางแหลมที่ใช้งาน ต้องติดตั้งไว้ภายในรถหรือภายในประตูรถ ห้ามติดตั้งไว้ภายนอกตัวรถโดยเด็ดขาด และในกรณีที่บานประตูเปิดอ้าออกด้านหน้ารถ ห้ามติดตั้งลำโพงกลางแหลมไว้ที่บานประตูโดยเด็ดขาด
10. รถยนต์ต้องสามารถขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์ได้ และต้องมีทะเบียนรถถูกต้องตามกฎหมาย
7

ที่ไหนมีโรงเรียนสอนติดตั้งเครื่องเสียงบ้างคับ

« โดย พยายาม เมื่อ พฤศจิกายน 2012-05-02 14:34:29 »

เป็นสถาบันฝึกช่างเครื่องเสียงรถยนต์  ในความควบคุมของ โรงเรียนเครื่องเสียงรถยนต์สมุทรสงคราม(เปิดสอนมาแล้วกว่า 16 ปี) อยู่ซอย ศรีนครินทร์ 38 เยื่องศูนย์การค้า ซีคอนแสควร์ ครับ

ระเบียบการ


คุณสมบัติของผู้สมัคร


  - ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 12 ปี
  - รับทั้งเพศชายและหญิง
  - พื้นความรู้เดิมไม่จำกัด

   
หลักฐานการรับสมัคร


  - สำเนาทะเบียนบ้าน
  - สำเนาบัตรประชาชน
  - หรือบัิตรอื่นๆ (ถ้ามี)
  - รูปถ่ายปัจจุบันหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาำดำ
     ขนาด 1 นิ้ว (จำนวน3 รูป)


การจำหน่าย


  - เมื่อจบหลักสูตร-เมื่อลาออก-เมื่อเสียชีวิต
  - เมื่อทำผิดกฏระเบียบของโรงเรียนฯ อย่างร้ายแรง ดังนี้
  - เสพยาเสพติดหรือของมึนเมา-ลักทรัพย์สินของผู้อื่น
  - ก่อการทะเลาะวิวาท


วิชาที่สอน


  - วิชาช่างติดตั้งเครื่องเสียงในรถยนต์(เน้นแนวปฏิบัติ)
   
หลักสูตรที่สอน


  - หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ
  - หลักสูตรของโรงเรียนฯ ซึ่งได้รับอนุมัิติ
     จากกระทรวงศึกษาธิการ
  - หลักสูตรช่างแอร์ ฟิลม์ และกันขโมย


ชั้นเรียน


  - ชั้นต้น ถึง ชั้นประกอบอาชีพได้


เวลาเรียน


  - สอนตั้งแต่เวลา 09.00 น. ถึง 15.00 น. หรือ
    จนกว่าภาคปฏิบัติแล้วเสร็จ
  - ตลอดสูตรใช้เวลา 120 ชม. (หรือจนกว่าประกอบอาชีพได้)
  - สอนทั้งรอบปกติจันทร์-ศุกร์ และ รอบเสาร์-อาทิตย์


การแต่งกาย


  - แต่งกาย กางเกงขายาว สุภาพ



ค่าธรรมเนียม
การเีรียน


  - การลงทะเบียนครั้งแรกครั้งเดียว 29,000 บาท
    (สอนจนจบหลักสูตร)


ที่พักอาศัย
ระหว่างเรียน

  - หอพักสะอาดอยู่ใกล้โรงเรียน


หลักสูตรวิชาช่างติดตั้งเครื่องเสียงในรถยนต์ ( แห่งแรกในประเทศไทย )

  - ใบอนุญาตให้จัดตั้ังโรงเรียนฯ (ส่วนกลาง)

  - ใบอนุญาตให้จัดตั้ังโรงเรียนฯ (ส่วนภูมิภาค)

  - ใบอนุญาตให้บรรจุครู

  - ใบอนุญาิตให้เก็บค่าธรรมเนียมการเรียน

  - ใบอนุญาิตให้ใช้ตราประจำโรงเรียนฯ

  - ใบอนุญาิตให้ออกใบประกาศนียบัตร

เลขที่ กร.203/2538

เลขที่ สส.0001/2543

เลขที่ สส.0021/2543
เลขที่ สส.0045/2543

เลขที่ สส.0001/2544

เลขที่ สส.0002/2544




***นักศึกษาทุกคนต้องผ่านการปรับพื้นฐาน
ที่สาขาพระโขนงก่อนจึงจะไปสาขาอื่นๆ ได้***

การลงทะเบียนเรียน

ต้องโอนเงินลงทะเบียนล่วงหน้า เพื่อจัดเลขประจำตัวนักศึกษา
และกำหนดวันเวลาเรียน นักศึกษาลงทะเบียนได้ที่


***ธนาคารไทยพาณิชย์  สาขาถนนศรีนครินทร์ (ซีคอนสแควร์)

        ชื่อบัญชี   โรงเรียนเครื่องเสียงรถยนต์สมุทรสงคราม

     เลขที่บัญชี 164-226781-0   ประเภท  ออมทรัพย์


***ธนาคารกรุงไทย  สาขากระทรวงศึกษาธิการ
       
        ชื่อบัญชี   เสริมศักดิ์  อนงค์ลักษณ์
http://www.ss-caraudioschool.com/images/mapnews8.jpg
8

ฝากประชาสัมพันธ์งานแข่ง TAK dB Contest By Tng spl 2012 วันที่ 18 มี.ค. 55

« โดย พยายาม เมื่อ พฤศจิกายน 2012-02-22 22:55:14 »
http://upic.me/i/g5/tngdragspl2012bytak0181.jpg


รุ่นการแข่งขัน TAK dB CONTEST By TNG SPL 2012
1.   มือสมัครเล่น dB Hitting 129.99 dB
2.   มือสมัครเล่น dB Hitting 139.99 dB
3.   มืออาชีพ dB Hitting 129.99 dB
4.   มืออาชีพ dB Hitting 123.99 dB
5.   รถกระบะตู้พื้นใต้เบาะ 10 นิ้ว 1 คู่ มือสมัครเล่น
6.   รถกระบะตู้พื้นใต้เบาะ 10 นิ้ว 1 คู่ มืออาชีพ
7.    รถกระบะตู้พื้นใต้เบาะ 12 นิ้ว 1 คู่ มือสมัครเล่น
8.   รถกระบะตู้พื้นใต้เบาะ 12 นิ้ว 1 คู่ มออาชีพ
9.   รถกระบะรุ่นมืออาชีพ 10 นิ้ว 1 คู่ ไม่เกินเสา  B
10.   รถเก๋งรุ่นมืออาชีพ 10 นิ้ว 1 คู่ ไม่เกินเสา  B
11.   รถกระบะรุ่นมืออาชีพ 12 นิ้ว 1 คู่ ไม่เกินเสา  B
12.   รถเก๋งรุ่นมืออาชีพ 12 นิ้ว 1 คู่ ไม่เกินเสา B
13.   รถกระบะรุ่นมืออาชีพ 15 นิ้ว 1 คู่ ไม่เกินเสา  B
14.   รถเก๋งรุ่นมืออาชีพ 15 นิ้ว 1 คู่ ไม่เกินเสา B
15.   เก๋ง OPEN
16.   กระบะ OPEN
17.   Death Match เก๋ง 10 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
18.   Death Match  แวน 10 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
19.   Death Match กระบะ 10 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
20.   Death Match เก๋ง 12 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
21.   Death Match  แวน 12 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
22.   Death Match กระบะ 12 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
23.   Death Match  เก๋ง 15 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
24.   Death Match  แวน 15 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
25.   Death Match กระบะ 15 นิ้ว (เปิดต่อเนื่อง 3 นาที)
26.   Super Show เก๋ง (เซ็นเซอร์ห่างจากตัวรถด้านไหนก็ได้ 2 เมตร สูง 1.5 เมตร)
27.   Super Show กระบะ (เซ็นเซอร์ห่างจากตัวรถด้านไหนก็ได้ 2 เมตร สูง 1.5 เมตร)

กติกาการแข่งขัน TNG SPL 2012
1. กติการุ่น dB Hitting
-   ไม่จำกัดประเภทรถ/ แรงดันไฟ/จำนวนแบตเตอร์รี่/จำนวนดอกลำโพงและการติดตั้ง
-   เซ็นเซอร์จะต้องติดกระจกบานหน้ารถ มุมไหนก็ได้ตามใจชอบ เปิดประตูอย่างน้อย 1 ข้าง
-   เปิดด้วยเพลง หรือ Test Tone ก็ได้ (นักแข่งเตรียมมาเอง) บันทึกคะแนนด้วยค่าเฉลี่ย 1 นาที ทุกรุ่น
-   รอบเครื่องยนต์จะต้องไม่เกิน 2000 รอบ ผู้เข้าแข่งขันอยู่ในรถได้ไม่เกิน 2 คน ต่อ 1 คัน
-   ชนะเลิศอันดับ 1 ได้ถ้วยรางวัล อันดับ 2 ถ้วยรางวัล อันดับ 3 ใบประกาศณียบัตร
-   ค่าสมัครคันละ 1000 บาท ไม่พอใจคะแนนครั้งที่ 1 สามารถวัดใหม่ได้ 1 ครั้ง โดยต้องจ่ายค่าซ่อม 500 บาท แข่งต่อเนื่องทันที
2. กติการุ่น มือสมัครเล่น
-   งานติดตั้งเรียบร้อยสวยงาม Power Amp ไม่เกิน 3000 วัตต์  แรงดันไฟไม่เกิน 15 Volt
-   แบตเตอร์รี่ไม่เกิน 2 ลูก ลูกที่เพิ่มวางตรงไหนก็ได้ให้เรียบร้อย ไดชาร์ตไม่เกิน 1 ลูก
-   เซ็นเซอร์ต้องติดบริเวณกระจกบานหน้ารถ มุมไหนก็ได้ตามใจชอบ เปิดประตูอย่างน้อย 1 ข้าง
-   ตู้สูงไม่เกิน 40 ซม. นั่งใช้งานได้จริง
-   รอบเครื่องยนต์จะต้องไม่เกิน 2000 รอบ
-   ผู้เข้าแข่งขันอยู่ในรถขณะบันทึกคะแนนได้ไม่เกิน 2 คน ต่อ 1 คัน
-   เปิดด้วยเพลง หรือ Test Tone ก็ได้ (นักแข่งเตรียมมาเอง) บันทึกคะแนนด้วยค่าเฉลี่ย 1 นาที ทุกรุ่น
-   ชนะเลิศอันดับ 1 ได้ถ้วยรางวัล อันดับ 2 ถ้วยรางวัล อันดับ 3 ใบประกาศณียบัตร
-   ค่าสมัครคันละ 1000 บาท ไม่พอใจคะแนนครั้งที่ 1 สามารถวัดใหม่ได้ 1 ครั้ง โดยต้องจ่ายค่าซ่อม 500 บาท แข่งต่อเนื่องทันที
3. กติการุ่นมืออาชีพ
-   รถทุกประเภทตู้ไม่เกินเสา B  ไม่จำกัด Power Amp /แรงดันไฟ/จำนวนแบตเตอร์รี่
-   เซ็นเซอร์ต้องติดบริเวณกระจกบานหน้ารถ มุมไหนก็ได้ตามใจชอบ  ต้องเปิดประตู 2 ข้าง
-   รอบเครื่องยนต์จะต้องไม่เกิน 2000 รอบ
-   ผู้เข้าแข่งขันอยู่ในรถขณะบันทึกคะแนนได้ไม่เกิน 2 คน ต่อ 1 คัน
-   เปิดด้วยเพลง หรือ Test Tone ก็ได้ (นักแข่งเตรียมมาเอง) บันทึกคะแนนด้วยค่าเฉลี่ย 1 นาที ทุกรุ่น
-   ชนะเลิศอันดับ 1 ได้ถ้วยรางวัล อันดับ 2 ถ้วยรางวัล อันดับ 3 ใบประกาศณียบัตร
-   ค่าสมัครคันละ 1000 บาท ไม่พอใจคะแนนครั้งที่ 1 สามารถวัดใหม่ได้ 1 ครั้ง โดยต้องจ่ายค่าซ่อม 500 บาท แข่งต่อเนื่องทันที
4. กติการุ่น Death Match
-   ไม่จำกัดรูปแบบการติดตั้ง ประเภทรถ จำนวนดอกลำโพง
-   ไม่จำกัด Power Amp /แรงดันไฟ/จำนวนแบตเตอร์รี่
-   เซ็นเซอร์ต้องติดบริเวณกระจกบานหน้ารถ มุมไหนก็ได้ตามใจชอบ  ต้องเปิดประตู 2 ข้าง
-   รอบเครื่องยนต์จะต้องไม่เกิน 2000 รอบ
-   ผู้เข้าแข่งขันอยู่ในรถขณะบันทึกคะแนนได้ไม่เกิน 2 คน ต่อ 1 คัน
-   เปิดด้วยเพลง หรือ Test Tone ก็ได้ (นักแข่งเตรียมมาเอง) บันทึกคะแนนด้วยค่าเฉลี่ย 3 นาที ทุกรุ่น
-   ชนะเลิศอันดับ 1 ได้ถ้วยรางวัล อันดับ 2 ถ้วยรางวัล อันดับ 3 ใบประกาศณียบัตร
-   ค่าสมัครคันละ 1500 บาท ไม่พอใจคะแนนครั้งที่ 1 สามารถวัดใหม่ได้ 1 ครั้ง โดยต้องจ่ายค่าซ่อม 1000 บาท แข่งต่อเนื่องทันที
***รุ่น OPEN และ Super Show ไม่จำกัดรูปแบบการติดตั้งใดๆ