Thailand Web Stat Truehits.net
аёаёІаёўа№ЂаёаёЈаёа№Ђаёаёа№ЂаёЄаёаёўаёаёЎаёаёаёЄаёаё

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ acare

  • *
  • 37
  • 0
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์

    อีกครั้งสำหรับหน้าที่และปุ่มต่างของเพาเวอร์แอมป์ เพราะมีคำถามเข้ามามากมาย สำหรับปุ่มต่างๆที่หลายท่านยังสงสัย

    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์ Class AB


    Gain,sensitivity
    เป็นปุ่มสำหรับปรับระดับความไวขาเข้าให้กับเพาเวอร์แอมป์ เพื่อให้มีระดับความดังตามต้องการ แต่การปรับปุ่มความไวขาเข้านี้ หากมากเกินไปจะทำให้ความสมดุลย์ระหว่างอิมพีแดนซ์ขาออกของปรีแอมป์หรือวิทยุกับอิมพีแดนซ์ขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ไม่เหมาะสมกัน ทำให้เกิดปัญหา เสียงซ่า เสียงรบกวนและขาดน้ำหนักเสียงและปลายเสียงที่ดีครับ

    High pass
    ปุ่มที่กำหนดหน้าที่กำหนดให้ความถี่สูงกว่าจุดตัดหรือความถี่ที่กำหนดผ่านออกไปสู่ลำโพงให้ทำงานต่อไป เช่นกำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่สูง
    กว่า 90Hz จะผ่านไปสู่ลำโพง ส่วนความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้งไป

    Low pass
    ปุ่มที่กำหนดให้ความถี่ต่ำกว่าจุดที่กำหนดผ่าน เช่น กำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz จะถูกส่งไปให้ลำโพงทำงาน ส่วนความถี่ที่สูงกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้ง

    Full , Flat
    เป็นปุ่มที่เลือกให้ความถี่ทุกความถี่ ผ่านออกไปสู่ลำโพงทั้งหมด โดยไม่มีการกรองความถี่ทิ้งไปแต่อย่างใด

    หน้าที่และปุ่มต่างๆของแอมป์ Class D

    Bass Boost
    เป็นปุ่มที่ทำหน้าที่เพิ่ม-ลดระดับความดังของความถี่ที่กำหนด เช่น แอมป์จะกำหนดความถี่ในการเพิ่ม-ลดมาไว้ให้ตายตัว เช่น 45Hz หรือสามารถเลือกความถี่ที่ต้องการ Boost ได้
    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์คลาส D

    gain ปรับความไวขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ ให้ทำงานสอดคล้องหรือเหมาะสมกับระดับความแรงของสัญญาณ

    lpf เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ให้วงจรกรองความถี่แบบต่ำผ่าน โดยความถี่ที่เลือกจะกำหนด ให้ปล่อยความ
    ถี่เสียงที่ต่ำกว่ากำหนดให้ซับทำงานต่อไป หรือความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนดจะถูกกรองทิ้งไป

    Subsonic ทำหน้าเสมือนวงจรกรองความถี่แบบ Hpf เป็นการกำหนดให้ความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนด ผ่านให้ซับวูฟเฟอร์
    ทำงานหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ความถี่ที่ต่ำกว่าที่กำหนดจะถูกวงจรนี้กรองทิ้งไป
    ข้อสังเกต Lpf และ Sub Sonic จะมีหน้าที่และการทำงานที่ตรงข้ามกัน

    Bass Boost Fre. เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ที่ต้องการ ปรับเพิ่ม(Boost) เพื่อเป็นการชดเชยสภาพทางอคูสติกหรือแก้ไขปัญหา
    ทางเฟสที่อาจล้ำเกินไป

    Bass Boost เป็นปุ่มที่ควบคุมระดับความดังของความถี่ที่ต้องการเพิ่ม-ลด ทำงานสัมพันธ์กับ Bass Boost Fre.

ออฟไลน์ arm_eg

  • *
  • 8
  • 0
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: กันยายน 17, 2012, 01:35:39 PM »
สวัสดีครับ น้าตึ๋ง ผมมีข้อสงสัยครับ

power class D เค้าต่อกันยังไง ทุกวันนี้ยัง งง อยู่เลยครับ

คือ ผมมี ลำโพง 2 ดอก ว้อยคู่ (4โอม) ผมต่อแล้ว เหลือดอกละ 2 โอม

แล้วผมจะต่อเข้ากับ power amp class D อย่างไรครับ

แล้วแบบนี้จะเหลือ กี่โอม ครับ

ออฟไลน์ acare

  • *
  • 37
  • 0
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: กันยายน 17, 2012, 02:04:23 PM »
สวัสดีครับ น้าตึ๋ง ผมมีข้อสงสัยครับ

power class D เค้าต่อกันยังไง ทุกวันนี้ยัง งง อยู่เลยครับ

คือ ผมมี ลำโพง 2 ดอก ว้อยคู่ (4โอม) ผมต่อแล้ว เหลือดอกละ 2 โอม

แล้วผมจะต่อเข้ากับ power amp class D อย่างไรครับ

แล้วแบบนี้จะเหลือ กี่โอม ครับ

การต่อลำโพงเหลือดอกละ 2 โอห์มคือการขนาน  จากนั้นให้เอาลำโพงตัวแรกมาขนานกับตัวที่สอง จะได้ความต้านทานที่ 1 โอห์มครับ
ส่วนการต่อมาเข้าที่เพาเวอร์แอมป์ ทำได้สองกรณี
กรณีแรก........ เดินสายจากเพาเวอร์แอมป์ชุดเดียว ไปหาลำ่โพง แล้วขนานลำโพงจากตัวละ 2 โอห์มจะเหลือ 1 โอห์ม
กรณีที่สอง...... เดินสายจากเพาเวอร์แอมป์สองชุด ไปหาลำโพงแต่ละตัว ก็จะได้ความต้านทานที่ 1 โอห์ม เช่นกัน

แต่การต่อในกรณีที่สอง ทำให้การไหลของกระแสจากเพาเวอร์แอมป์สู่ลำโพง ทำได้ดีกว่า เนื่องจากมีพื้นที่ของสายมากกว่า กรณีแรกครับ

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: กันยายน 17, 2012, 10:50:42 PM »
ขอบคุณครับ.....อาจารเก็บเป็นความรู้ครับ
มีเสื้ออย่าลืมใส่....เป็นใหญ่อย่าลืมเพื่อน...

ออฟไลน์ Luffy

  • ****
  • 273
  • 0
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: กันยายน 17, 2012, 11:37:40 PM »

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์

    อีกครั้งสำหรับหน้าที่และปุ่มต่างของเพาเวอร์แอมป์ เพราะมีคำถามเข้ามามากมาย สำหรับปุ่มต่างๆที่หลายท่านยังสงสัย

    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์ Class AB


    Gain,sensitivity
    เป็นปุ่มสำหรับปรับระดับความไวขาเข้าให้กับเพาเวอร์แอมป์ เพื่อให้มีระดับความดังตามต้องการ แต่การปรับปุ่มความไวขาเข้านี้ หากมากเกินไปจะทำให้ความสมดุลย์ระหว่างอิมพีแดนซ์ขาออกของปรีแอมป์หรือวิทยุกับอิมพีแดนซ์ขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ไม่เหมาะสมกัน ทำให้เกิดปัญหา เสียงซ่า เสียงรบกวนและขาดน้ำหนักเสียงและปลายเสียงที่ดีครับ

    High pass
    ปุ่มที่กำหนดหน้าที่กำหนดให้ความถี่สูงกว่าจุดตัดหรือความถี่ที่กำหนดผ่านออกไปสู่ลำโพงให้ทำงานต่อไป เช่นกำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่สูง
    กว่า 90Hz จะผ่านไปสู่ลำโพง ส่วนความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้งไป

    Low pass
    ปุ่มที่กำหนดให้ความถี่ต่ำกว่าจุดที่กำหนดผ่าน เช่น กำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz จะถูกส่งไปให้ลำโพงทำงาน ส่วนความถี่ที่สูงกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้ง

    Full , Flat
    เป็นปุ่มที่เลือกให้ความถี่ทุกความถี่ ผ่านออกไปสู่ลำโพงทั้งหมด โดยไม่มีการกรองความถี่ทิ้งไปแต่อย่างใด

    หน้าที่และปุ่มต่างๆของแอมป์ Class D

    Bass Boost
    เป็นปุ่มที่ทำหน้าที่เพิ่ม-ลดระดับความดังของความถี่ที่กำหนด เช่น แอมป์จะกำหนดความถี่ในการเพิ่ม-ลดมาไว้ให้ตายตัว เช่น 45Hz หรือสามารถเลือกความถี่ที่ต้องการ Boost ได้
    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์คลาส D

    gain ปรับความไวขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ ให้ทำงานสอดคล้องหรือเหมาะสมกับระดับความแรงของสัญญาณ

    lpf เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ให้วงจรกรองความถี่แบบต่ำผ่าน โดยความถี่ที่เลือกจะกำหนด ให้ปล่อยความ
    ถี่เสียงที่ต่ำกว่ากำหนดให้ซับทำงานต่อไป หรือความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนดจะถูกกรองทิ้งไป

    Subsonic ทำหน้าเสมือนวงจรกรองความถี่แบบ Hpf เป็นการกำหนดให้ความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนด ผ่านให้ซับวูฟเฟอร์
    ทำงานหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ความถี่ที่ต่ำกว่าที่กำหนดจะถูกวงจรนี้กรองทิ้งไป
    ข้อสังเกต Lpf และ Sub Sonic จะมีหน้าที่และการทำงานที่ตรงข้ามกัน

    Bass Boost Fre. เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ที่ต้องการ ปรับเพิ่ม(Boost) เพื่อเป็นการชดเชยสภาพทางอคูสติกหรือแก้ไขปัญหา
    ทางเฟสที่อาจล้ำเกินไป

    Bass Boost เป็นปุ่มที่ควบคุมระดับความดังของความถี่ที่ต้องการเพิ่ม-ลด ทำงานสัมพันธ์กับ Bass Boost Fre.


ข้อมูลที่ดีมากเลยครับ แต่ผมลองจูน เท่าไหร่ก้ยัไม่ได้ สักที อาจเป็นที่ตู้ด้วยป่าวครับ

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: กันยายน 18, 2012, 07:49:30 AM »
ลองไปดู เทคนิคการจูนซิครับ เลเวลเเมตชิ่ง ครับ

ออฟไลน์ acare

  • *
  • 37
  • 0
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: กันยายน 19, 2012, 09:48:17 AM »

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์

    อีกครั้งสำหรับหน้าที่และปุ่มต่างของเพาเวอร์แอมป์ เพราะมีคำถามเข้ามามากมาย สำหรับปุ่มต่างๆที่หลายท่านยังสงสัย

    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์ Class AB


    Gain,sensitivity
    เป็นปุ่มสำหรับปรับระดับความไวขาเข้าให้กับเพาเวอร์แอมป์ เพื่อให้มีระดับความดังตามต้องการ แต่การปรับปุ่มความไวขาเข้านี้ หากมากเกินไปจะทำให้ความสมดุลย์ระหว่างอิมพีแดนซ์ขาออกของปรีแอมป์หรือวิทยุกับอิมพีแดนซ์ขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ไม่เหมาะสมกัน ทำให้เกิดปัญหา เสียงซ่า เสียงรบกวนและขาดน้ำหนักเสียงและปลายเสียงที่ดีครับ

    High pass
    ปุ่มที่กำหนดหน้าที่กำหนดให้ความถี่สูงกว่าจุดตัดหรือความถี่ที่กำหนดผ่านออกไปสู่ลำโพงให้ทำงานต่อไป เช่นกำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่สูง
    กว่า 90Hz จะผ่านไปสู่ลำโพง ส่วนความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้งไป

    Low pass
    ปุ่มที่กำหนดให้ความถี่ต่ำกว่าจุดที่กำหนดผ่าน เช่น กำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz จะถูกส่งไปให้ลำโพงทำงาน ส่วนความถี่ที่สูงกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้ง

    Full , Flat
    เป็นปุ่มที่เลือกให้ความถี่ทุกความถี่ ผ่านออกไปสู่ลำโพงทั้งหมด โดยไม่มีการกรองความถี่ทิ้งไปแต่อย่างใด

    หน้าที่และปุ่มต่างๆของแอมป์ Class D

    Bass Boost
    เป็นปุ่มที่ทำหน้าที่เพิ่ม-ลดระดับความดังของความถี่ที่กำหนด เช่น แอมป์จะกำหนดความถี่ในการเพิ่ม-ลดมาไว้ให้ตายตัว เช่น 45Hz หรือสามารถเลือกความถี่ที่ต้องการ Boost ได้
    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์คลาส D

    gain ปรับความไวขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ ให้ทำงานสอดคล้องหรือเหมาะสมกับระดับความแรงของสัญญาณ

    lpf เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ให้วงจรกรองความถี่แบบต่ำผ่าน โดยความถี่ที่เลือกจะกำหนด ให้ปล่อยความ
    ถี่เสียงที่ต่ำกว่ากำหนดให้ซับทำงานต่อไป หรือความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนดจะถูกกรองทิ้งไป

    Subsonic ทำหน้าเสมือนวงจรกรองความถี่แบบ Hpf เป็นการกำหนดให้ความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนด ผ่านให้ซับวูฟเฟอร์
    ทำงานหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ความถี่ที่ต่ำกว่าที่กำหนดจะถูกวงจรนี้กรองทิ้งไป
    ข้อสังเกต Lpf และ Sub Sonic จะมีหน้าที่และการทำงานที่ตรงข้ามกัน

    Bass Boost Fre. เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ที่ต้องการ ปรับเพิ่ม(Boost) เพื่อเป็นการชดเชยสภาพทางอคูสติกหรือแก้ไขปัญหา
    ทางเฟสที่อาจล้ำเกินไป

    Bass Boost เป็นปุ่มที่ควบคุมระดับความดังของความถี่ที่ต้องการเพิ่ม-ลด ทำงานสัมพันธ์กับ Bass Boost Fre.


ข้อมูลที่ดีมากเลยครับ แต่ผมลองจูน เท่าไหร่ก้ยัไม่ได้ สักที อาจเป็นที่ตู้ด้วยป่าวครับ

ที่ว่ายังไม่ได้ เสียงเป็นอย่างไรครับ

ออฟไลน์ bas@

  • **
  • 68
  • 0
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: กันยายน 19, 2012, 04:37:13 PM »

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์

    อีกครั้งสำหรับหน้าที่และปุ่มต่างของเพาเวอร์แอมป์ เพราะมีคำถามเข้ามามากมาย สำหรับปุ่มต่างๆที่หลายท่านยังสงสัย

    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์ Class AB


    Gain,sensitivity
    เป็นปุ่มสำหรับปรับระดับความไวขาเข้าให้กับเพาเวอร์แอมป์ เพื่อให้มีระดับความดังตามต้องการ แต่การปรับปุ่มความไวขาเข้านี้ หากมากเกินไปจะทำให้ความสมดุลย์ระหว่างอิมพีแดนซ์ขาออกของปรีแอมป์หรือวิทยุกับอิมพีแดนซ์ขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ไม่เหมาะสมกัน ทำให้เกิดปัญหา เสียงซ่า เสียงรบกวนและขาดน้ำหนักเสียงและปลายเสียงที่ดีครับ

    High pass
    ปุ่มที่กำหนดหน้าที่กำหนดให้ความถี่สูงกว่าจุดตัดหรือความถี่ที่กำหนดผ่านออกไปสู่ลำโพงให้ทำงานต่อไป เช่นกำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่สูง
    กว่า 90Hz จะผ่านไปสู่ลำโพง ส่วนความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้งไป

    Low pass
    ปุ่มที่กำหนดให้ความถี่ต่ำกว่าจุดที่กำหนดผ่าน เช่น กำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz จะถูกส่งไปให้ลำโพงทำงาน ส่วนความถี่ที่สูงกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้ง

    Full , Flat
    เป็นปุ่มที่เลือกให้ความถี่ทุกความถี่ ผ่านออกไปสู่ลำโพงทั้งหมด โดยไม่มีการกรองความถี่ทิ้งไปแต่อย่างใด

    หน้าที่และปุ่มต่างๆของแอมป์ Class D

    Bass Boost
    เป็นปุ่มที่ทำหน้าที่เพิ่ม-ลดระดับความดังของความถี่ที่กำหนด เช่น แอมป์จะกำหนดความถี่ในการเพิ่ม-ลดมาไว้ให้ตายตัว เช่น 45Hz หรือสามารถเลือกความถี่ที่ต้องการ Boost ได้
    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์คลาส D

    gain ปรับความไวขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ ให้ทำงานสอดคล้องหรือเหมาะสมกับระดับความแรงของสัญญาณ

    lpf เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ให้วงจรกรองความถี่แบบต่ำผ่าน โดยความถี่ที่เลือกจะกำหนด ให้ปล่อยความ
    ถี่เสียงที่ต่ำกว่ากำหนดให้ซับทำงานต่อไป หรือความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนดจะถูกกรองทิ้งไป

    Subsonic ทำหน้าเสมือนวงจรกรองความถี่แบบ Hpf เป็นการกำหนดให้ความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนด ผ่านให้ซับวูฟเฟอร์
    ทำงานหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ความถี่ที่ต่ำกว่าที่กำหนดจะถูกวงจรนี้กรองทิ้งไป
    ข้อสังเกต Lpf และ Sub Sonic จะมีหน้าที่และการทำงานที่ตรงข้ามกัน

    Bass Boost Fre. เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ที่ต้องการ ปรับเพิ่ม(Boost) เพื่อเป็นการชดเชยสภาพทางอคูสติกหรือแก้ไขปัญหา
    ทางเฟสที่อาจล้ำเกินไป

    Bass Boost เป็นปุ่มที่ควบคุมระดับความดังของความถี่ที่ต้องการเพิ่ม-ลด ทำงานสัมพันธ์กับ Bass Boost Fre.

เก็บความรู้ครับ อาจารย์ ตึ่ง ครับ

ออฟไลน์ diczub

  • *
  • 10
  • 0
    • ดูรายละเอียด
หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์ Class AB และ Class D
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: มกราคม 24, 2013, 04:17:11 AM »

หน้าที่และปุ่มต่างๆของเพาเวอร์แอมป์

    อีกครั้งสำหรับหน้าที่และปุ่มต่างของเพาเวอร์แอมป์ เพราะมีคำถามเข้ามามากมาย สำหรับปุ่มต่างๆที่หลายท่านยังสงสัย

    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์ Class AB


    Gain,sensitivity
    เป็นปุ่มสำหรับปรับระดับความไวขาเข้าให้กับเพาเวอร์แอมป์ เพื่อให้มีระดับความดังตามต้องการ แต่การปรับปุ่มความไวขาเข้านี้ หากมากเกินไปจะทำให้ความสมดุลย์ระหว่างอิมพีแดนซ์ขาออกของปรีแอมป์หรือวิทยุกับอิมพีแดนซ์ขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ไม่เหมาะสมกัน ทำให้เกิดปัญหา เสียงซ่า เสียงรบกวนและขาดน้ำหนักเสียงและปลายเสียงที่ดีครับ

    High pass
    ปุ่มที่กำหนดหน้าที่กำหนดให้ความถี่สูงกว่าจุดตัดหรือความถี่ที่กำหนดผ่านออกไปสู่ลำโพงให้ทำงานต่อไป เช่นกำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่สูง
    กว่า 90Hz จะผ่านไปสู่ลำโพง ส่วนความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้งไป

    Low pass
    ปุ่มที่กำหนดให้ความถี่ต่ำกว่าจุดที่กำหนดผ่าน เช่น กำหนดความถี่ไว้ที่ 90Hz นั่นหมายถึงความถี่ที่ต่ำกว่า 90Hz จะถูกส่งไปให้ลำโพงทำงาน ส่วนความถี่ที่สูงกว่า 90Hz ก็จะถูกกรองทิ้ง

    Full , Flat
    เป็นปุ่มที่เลือกให้ความถี่ทุกความถี่ ผ่านออกไปสู่ลำโพงทั้งหมด โดยไม่มีการกรองความถี่ทิ้งไปแต่อย่างใด

    หน้าที่และปุ่มต่างๆของแอมป์ Class D

    Bass Boost
    เป็นปุ่มที่ทำหน้าที่เพิ่ม-ลดระดับความดังของความถี่ที่กำหนด เช่น แอมป์จะกำหนดความถี่ในการเพิ่ม-ลดมาไว้ให้ตายตัว เช่น 45Hz หรือสามารถเลือกความถี่ที่ต้องการ Boost ได้
    หน้าที่ของปุ่มต่างๆบนแอมป์คลาส D

    gain ปรับความไวขาเข้าของเพาเวอร์แอมป์ ให้ทำงานสอดคล้องหรือเหมาะสมกับระดับความแรงของสัญญาณ

    lpf เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ให้วงจรกรองความถี่แบบต่ำผ่าน โดยความถี่ที่เลือกจะกำหนด ให้ปล่อยความ
    ถี่เสียงที่ต่ำกว่ากำหนดให้ซับทำงานต่อไป หรือความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนดจะถูกกรองทิ้งไป

    Subsonic ทำหน้าเสมือนวงจรกรองความถี่แบบ Hpf เป็นการกำหนดให้ความถี่ที่สูงกว่าที่กำหนด ผ่านให้ซับวูฟเฟอร์
    ทำงานหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ความถี่ที่ต่ำกว่าที่กำหนดจะถูกวงจรนี้กรองทิ้งไป
    ข้อสังเกต Lpf และ Sub Sonic จะมีหน้าที่และการทำงานที่ตรงข้ามกัน

    Bass Boost Fre. เป็นปุ่มสำหรับเลือกความถี่ที่ต้องการ ปรับเพิ่ม(Boost) เพื่อเป็นการชดเชยสภาพทางอคูสติกหรือแก้ไขปัญหา
    ทางเฟสที่อาจล้ำเกินไป

    Bass Boost เป็นปุ่มที่ควบคุมระดับความดังของความถี่ที่ต้องการเพิ่ม-ลด ทำงานสัมพันธ์กับ Bass Boost Fre.

แล้วแต่ละปุ่มควรปรับประมาณเท่าไหรดีครับ